Asst. Prof. Dr.Sungwan Kanso
ผศ.ดร.สังวาลย์ แก่นโส
Asst. Prof. Dr.Sungwan Kanso
Department : ภาควิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ
Room : SC 323 อาคารวิจัย คณะวิทยาศาสตร์
Phone : 4493
Mobile : -
E-mail : samghamit@hotmail.com
ประวัติการศึกษา

2003; Doctor of Philosophy (Microbiology); Griffith University, Australia
1997; Bachelor of Science in Biotechnology with Honours (First Class); Griffith University, Australia                                            

งานวิจัยที่สนใจ

Microbial Diversity, SS rRNA Gene Analysis, Thermophiles, 

Hydrogen and Biogas Production, Waste Utilization, 

Plant Growth Promoting Rhizobacteria.

ทุนวิจัย
  • โครงการวิจัย

    ๑: การคัดเลือกจุลินทรีย์ที่มีความสามารถสูงในการผลิตก๊าชไฮโดรเจน (Screening and isolation of hydrogen-producing microbes with high potential for bio-production of hydrogen) : ทุนสนับสนุนการวิจัยเงินรายได้มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี: ๑ ปีงบประมาณ (๑ ตุลาคม ๒๕๔๗ – ๓๐ กันยายน ๒๕๔๘)

    ๒: การคัดเลือกแบคทีเรียที่มีความสามารถในการผลิตก๊าซไฮโดรเจนและการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตก๊าซไฮโดรเจนของแบคทีเรีย (Screening and isolation of hydrogen-producing bacteria and optimization of hydrogen gas production by bacterial isolates.: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) : ๒ ปีงบประมาณ (๑ ตุลาคม ๒๕๔๙ - ๓๐ กันยายน ๒๕๕๑)

    ๓: การศึกษาความหลากหลายของแบคทีเรียชอบร้อนในน้ำพุร้อนของประเทศไทย (Studies of thermophilic bacteria diversity in Thai hot springs): สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) : ๒ ปีงบประมาณ (๑ ตุลาคม ๒๕๕๑ - ๓๐ กันยายน ๒๕๕๓)

    ๔: การผลิตก๊าซไฮโดรเจนด้วยกระบวนการทางชีวภาพ (Biological hydrogen production from biomass): สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.): ๒ ปีงบประมาณ (๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ - ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒)

ประสบการณ์การทำงาน
  • งานด้านบริการวิชาการ

    วิทยากร ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์เพื่อโรงเรียนในเครือข่ายบริการ ห้องปฏิบัติการ คณะวิทยาศาสตร์ ๒๕๕๙-ปัจจุบัน
    ผู้เชี่ยวชาญ วิพากษ์โครงงานวิทยาศาสตร์ของกลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย ที่จังหวัดบุรีรัมย์ ๒๘ - ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑
    วิทยากร วิพากษ์หลักสูตรโรงเรียนจุฬาภรณ์ราชวิทยาลัยมุกดาหาร โรงแรมริเวอร์ซิตี มุกดาหาร ๓ - ๕ สิงหาคม ๒๕๖๐
    กรรมการ YSC 2018 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๒๕๖๐-๒๕๖๑
    วิทยากร สอนรายวิชาภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์ นักเรียน วมว.คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๒๕๖๐-๒๕๖๑
    กรรมการ งานประชุมวิชาการนานาชาติ ระดับบัณฑิตศึกษา ๑๙ – ๒๐ ตุลาคม ๒๕๖๐ ที่โรงแรมยูเพลส มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี     
    ผู้เชี่ยวชาญ พิจารณาบทความวิจัยให้วารสารวิชาการระดับนานาชาติ International Journal of Hydrogen Energy เรื่อง Monitoring quantitative dynamics of Thermotoga neapolitana in synthetic co-cultures using quantitative real-time PCR
    ผู้เชี่ยวชาญ วิพากษ์โครงงานวิทยาศาสตร์กลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย ที่มุกดาหาร ๒๙ – ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๖๐       
    กรรมการ งานประชุมวิชาการพฤกษศาสตร์แห่งชาติ ๑๖ –๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๙

                                                                 
    งานด้านวิชาการ

    ๑ กรรมการบริหารหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาจุลชีววิทยา ๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ - ปัจจุบัน

    ๒ กรรมการบริหารหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาสิ่งแวดล้อม ๑ สิงหาคม ๒๕๕๗ - กรกฎาคม ๒๕๕๙

    ๓ ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฏีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๖ - ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗

    ๔ ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๖ - ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗

    ๕ กรรมการประจำคณะวิทยาศาสตร์ (ผู้แทนคณาจารย์) ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ - ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๘

    ๖ กรรมการบริหารงานวิจัยประจำคณะวิทยาศาสตร์ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ - ๓๑ กันยายน ๒๕๕๘

ผลงานตีพิมพ์
  1. 1. สังวาลย์ แก่นโส* อรสา ยาสิริ และ บรรทม สุระพร (2563). ผลของน้ำเลี้ยงเชื้อแบคทีเรียสังเคราะห์แสงที่เตรียมโดยวิธีของเกษตรกรต่อการเจริญของหอมแดงและโหระพา การประชุมวิชาการ มอบ วิจัย ครั้งที่ 14 อุบลราชธานี. 3-4 กันยายน. 8-16.

     2. ภาณุมาส วงค์พุทธะ* สังวาลย์ แก่นโส และ สุทธนา ปลอดสมบูรณ์ (2563) ผลของเชื้อแบคทีเรียที่แยกได้จากลําไส้กุ้งฝอยต่อการเจริญเติบโตและการรอดชีวิตของกุ้งฝอย วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ปีที่ 1 ฉบับที่ 1: 24-30.

     3. สังวาลย์ แก่นโส เอกสารประกอบการสอนรายวิชานิเวศวิทยาจุลินทรีย์1101364

     4. สังวาลย์ แก่นโส* รัตนา ลาวงค์ และ พิชญาภรณ์ สุวรรณกูฎ (2561). ความสามารถในการย่อยเซลลูโลสของแบคทีเรียทนร้อน. การประชุมวิชาการ มอบ. วิจัย ครั้งที่ 12. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. อุบลราชธานี. 12-13 กรกฎาคม.

     5. Sungwan Kanso and Sopa Wadjungreed (2016). Isolation and identification of auxin-producing bacteria from root and stem nodules of Sesbania. The 10th Ubon Ratchathani University Research Conference. Ubonratchathani, Thailand. July 7-8. 141-148.

     6.  Kajohnpong Dasri, Jureeporn Kaewharn, Sungwan Kanso and Suphavee Sangchanjiradet. Optimization of indole-3-acetic acid (IAA) production by rhizobacteria isolated from epiphytic orchids. (2015).  KKU Research Journal. 19(6), 268-275.  

     7.  Kajohnpong Dasri, Jureeporn Kaewharn, Sungwan Kanso and Suphavee Sangchanjiradet. (2013). Optimal condition of indole-3-acetic acid (IAA) production by bacteria isolated from orchid roots. The 5th International Conference on Fermentation Technology for Value Added Agricultural Products. Khon Kaen, Thailand. August 21-23. 657.

     8.  สุริยา ติ่งทอง และ สังวาลย์ แก่นโส (2012) ความหลากหลายของแบคทีเรียทนร้อนที่แยกได้จากน้ำพุร้อน วารสารวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 40 (ฉบับที่ 2), 524-533.

     9.  Kanso. S., Dasri. K., Tingthong. S., Watanapokasin. R.Y. (2011). Diversity of cultivable hydrogen-producing bacteria isolated from agricultural soils, waste water sludge and cow dung. International Journal of Hydrogen Energy 36 (14), 8735-8742.

     10.  Watanapokasin. R. Y., Boonyakamol. A., Sukseree. S., Krajarng. A., Sophonnithiprasert. T., Kanso. S., Imai, T. (2009). Hydrogen production and anaerobic decolorization of wastewater containing Reactive Blue 4 by a bacterial consortium of Salmonella subterranea and Paenibacillus polymyxa. Biodegradation. 20 (3), 411-418. 

     11.  Kanso. S., Dasri. K., Tingthong. S. (2009). Diversity of cultivable hydrogen-producing bacteria isolated from northeastern Thailand and western Laos. The 2009 Asian Bio-Hydrogen Symposium, Khon Kaen, Thailand. August. 26-28. (Oral presentation).

     12.  Watanapokasin. R., Kanso. S., Tsuyoshi. I. and Ukita. M. (2007).  Decolorization and hydrogen production from waste water and dye by thermotolerant anaerobic bacteria. International Conference Synopsis JSPS-NRCT Concluding Joint Seminar on Development of Thermotolerant Microbial Resources and Their Applications.  Walailak University, Nakhon Si Thammarat, Thailand. October 18-20.

     13.  Watanapokasin. R., Kanso. S., Imai. T., Ukita. M. (2006).  Hydrogen production from amino acid production waste water by anaerobic bacteria. "The 5Th JSPS-NRCT. Joint Seminar on Development of Thermotolerant Microbial Resources and Their Applications". Pattaya, Thailand.  November 7-10.

     14.  Kanso. S and Siriwong. S. (2005). Isolation and Characterization of Hydrogen Producing Bacteria from Thai Noodle Factory Waste Water. The 31st Science and Technology Symposium of Thailand. Nakhornratchasima, Thailand. October 18-21.

     15.  Dasri, K. and Kanso, S (2005). Isolation and characterization of hydrogen-producing bacteria and optimization of hydrogen bio-production. The 31st Science and Technology Symposium of Thailand. Nakhornratchasima, Thailand. October 18-21.

     16.  Kanso. S and Patel. B.K.C. (2004). Phenylobacterium lituiforme sp. nov., a moderately thermophilic bacterium from a subsurface aquifer, and emended description of the genus Phenylobacterium. International Journal of Systematic and Evolutionary Microbiology. 54, 2141-2146. Impact factor 3.907 (2000).

     17.  Kanso. S and Patel. B.K.C. (2003). Microvirga subterranea gen. nov., sp. nov., a moderate thermophile from a deep subsurface Australian thermal aquifer. International Journal of Systematic and Evolutionary Microbiology. 53, 401-406. Impact factor 3.907 (2000).

     18.  Kanso. S. (2003). Molecular studies of bacterial communities in the Great Artesian Basin aquifers. Griffith University, Brisbane Queensland Australia. Ph.D Thesis.

     19.  Kanso. S, Greene. A. C. and Patel. B.K.C. (2002). Bacillus subterraneus sp. nov., an iron- and manganese-reducing bacteria form a deep subsurface Australian thermal aquifer. International Journal of Systematic and Evolutionary Microbiology. 52, 869-874. Impact factor 3.907 (2000).

     20.  Kanso. S and Patel. B.K.C. (2001). Studies of Molecular Microbial Ecology of the Great Artesian Basin Aquifer. The 27th Science and Technology Symposium of Thailand. Had-Yai, Thailand. October 16-19.

     21.  Dowhan. D., Kanso. S., Woo. H.. and Patel. B.K.C. (1998). New thermostable amylopullulanases and amylases from the thermoanaerobe Caloramator strain AB39, an isolate from the subterranean Great Artesian Basin of Australia aquifer: Cloning, sequencing and sequence analysis. International Conference on Frontiers in Biotechnology. Trivandrum, India, November 26-29.

     22.  Kanso. S. (1996). Recombinant amylase/pullulanase genes from Caloramator strain AB47. Griffith University, Brisbane Queensland Australia. Honours Thesis.