๋Jidapa sangswan
ผศ.ดร.จิดาภา แสงสวันต์
๋Jidapa sangswan
Department : ภาควิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ
Room :
Phone : 4405
Mobile :
E-mail : sanom.n@ubu.ac.th
Education

Philosophy of Doctor (Applied Bioscience)

พ.ศ. 2552    Yamaguchi University, Japan

Master degree of Science (Biotechnology) 

พ.ศ. 2547  มหาวิทยาลัยมหิดล

วิทยาศาสตรบัณฑิต (จุลชีววิทยา)                   

พ.ศ. 2541 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

Research interest

Microbiology, Ethanol fermentation, Yeast Genetics

Working experience
  • Researh Funding

    1. โครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาเทคนิค transformation ที่เหมาะสมกับเชื้อยีสต์ทนร้อนสายพันธุ์ใหม่ UBU-๑-๑ , ระยะเวลาดำเนินการ มิถุนายน ๒๕๕๓ – มิถุนายน ๒๕๕๔, สถานะ : หัวหน้าโครงการวิจัย

    2.  โครงการวิจัยเรื่อง ศักยภาพของน้ำคั้นแก่นตะวันเพื่อการผลิตเอทานอลที่อุณหภูมิสูงโดยใช้เชื้อยีสต์ทนร้อน, ระยะเวลาดำเนินการ  ตุลาคม ๒๕๕๓ – กันยายน ๒๕๕๔สถานะ : หัวหน้าโครงการวิจัย

    3. โครงการวิจัยเรื่อง สำรวจความหลากหลายของเชื้อยีสต์ที่ใช้ในการผลิตสาโทในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ เพื่อจัดทำเป็นฐานข้อมูล, ระยะเวลาดำเนินการ ตุลาคม ๒๕๕๔ – กันยายน ๒๕๕๕, สถานะ : หัวหน้าโครงการวิจัย

    4.  โครงการวิจัยเรื่อง Expression and purification of His-tagged TEV and GST-tagged PreScission 3C Protease, ระยะเวลาดำเนินการ ๕ กันยายน – ๑๗ ตุลาคม  ๒๕๕๕, สถานะ : หัวหน้าโครงการวิจัย

    5.  โครงการวิจัยเรื่อง Isolation of thermotolerant ethanogenic yeasts and improvement of fermentation ability by using breeding and genetic engineering, ระยะเวลาดำเนินการ ๑ กุมภาพันธ์ – ๒ มีนาคม ๒๕๕๖, สถานะ : หัวหน้าโครงการวิจัย

    6.  โครงการวิจัยเรื่อง ความหลากหลายของพรรณไม้ เห็ด และยีสต์ในดิน บริเวณสวนสัตว์อุบลราชธานี, ระยะเวลาดำเนินการ ตุลาคม ๒๕๕๕ – กันยายน ๒๕๕๖, สถานะ : หัวหน้าโครงการวิจัย

    7.  โครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาสายพันธุ์ยีสต์ Kluyveromyces marxianus สายพันธุ์ UBU เพื่อให้เหมาะสมกับการหมักเอทานอลในระดับอุตสาหกรรม, ระยะเวลาดำเนินการ ตุลาคม ๒๕๕๔ – กันยายน ๒๕๕๙, สถานะ : หัวหน้าโครงการวิจัย

    8.  โครงการวิจัยเรื่อง การคัดเลือกสายพันธุ์ยีสต์ที่ทนเอทานอลและน้ำตาลความเข้มข้นสูงเพื่อใช้ในการเมติงกับยีสต์ Kluyveromyces marxianus สายพันธุ์ UBU, ระยะเวลาดำเนินการ ตุลาคม ๒๕๕๖ – กันยายน ๒๕๕๗, สถานะ : หัวหน้าโครงการวิจัย

    9.โครงการวิจัยเรื่อง ความหลากหลายของยีสต์ในพื้นที่ อพ.สธ. สวนสัตว์อุบลราชธานี , ระยะเวลาดำเนินการ ตุลาคม ๒๕๕๙ – กันยายน ๒๕๖o, สถานะ : หัวหน้าโครงการวิจัย

    10. โครงการวิจัยเรื่อง การผลิตข้าวกล้องงอกด้วยวิธีทางเทคโนโลยีชีวภาพ, ระยะเวลาดำเนินการ สิงหาคม ๒๕๖o – กรกฎาคม ๒๕๖๑, สถานะ : หัวหน้าโครงการวิจัย

    11. โครงการวิจัยเรื่อง ความหลากหลายของยีสต์ในพื้นที่ อพ.สธ. ป่าร่องก่อ, ระยะเวลาดำเนินการ ตุลาคม ๒๕๖๑ – กันยายน ๒๕๖๒, สถานะ : หัวหน้าโครงการวิจัย

    12.  โครงการวิจัยเรื่อง ความหลากหลายของยีสต์ในพื้นที่ อพ.สธ. ป่าร่องก่อ, ระยะเวลาดำเนินการ ตุลาคม ๒๕๖๒ – กันยายน ๒๕๖๓, สถานะ : หัวหน้าโครงการวิจัย

Publication
  1. Sanom Nonklang, Babiker M.A. Abdel-Banat, Kamonchai Cha-aim, Nareerat Moonjai, Hisashi Hoshida, Savitree Limtong, Mamoru Yamada, and Rinji Akada. 2008. High temperature ethanol fermentation and transformation with linear DNA in thermotorlerant yeast Kluyveromyces marxianus. Applied Environmental and Microbiology 74: 7514-7521. (Impact factor 4.0)

     Sanom Nonklang, Akihino Ano, Babiker M.A. Abdel-Banat, Yuko Saito, Hisashi Hoshida, and Rinji Akada. 2009. Construction of flocculent Kluyveromyces marxianus strains applicable for high-temperature ethanol fermentation. Journal of Bioscience, Biotechnology and Biochemistry 73: 1090-5. (Impact factor 1.2)

     Babiker M.A. Abdel-Banat, Hisashi Hoshida, Akihiko Ano, Sanom Nonklang and Rinji Akada. 2009. High-temperature fermentation: how can processes for ethanol production at high temperatures become superior to the traditional process using mesophilic yeast? Biotechnology and Applied Biochemistry: Minireview 85(4): 861-867.

    Babiker M.A. Abdel-Banat,Sanom Nonklang, Hisashi Hoshida and Rinji Akada. 2010. Random and targeted gene integrations through the control of non-homologous end joining in the yeast Kluyveromyces marxianus. Yeast 27(1): 29-39.

    Sanom Nonklang. 2012. Factor affecting the transformation efficiency of linear DNA in Yeast Kluyveromyces marxianus UBU-1-1. Journal of Science & Technology, Ubon Ratchathani University 14(4): 35-41.

    Patcharaporn Summart, Charida Pukahuta and Sanom Nonklang. 2012. Selection of ura3 auxotrophic mutants with the highest transformation efficiency from the yeast Kluyveromyces marxianus UBU-1-1. Journal of Science & Technology, Ubon Ratchathani University 14(3): 1-8.

    Toru Yarimizu, Sanom Nonklang, Junpei Nakamura, Shuya Tokuda, Takaaki Nakagawa, Sasithorn Lorreungsil, Surasit Sutthikhumpha, Charida Pukahuta, Takao Kitagawa, Mikiko Nakamura, Kamonchai Cha-Aim, Savitree Limtong, Hisashi Hoshida and Rinji Akada.2013. Identification of auxotrophic mutants of the yeast Kluyveromyces marxianus by non-homologous end joining-mediated integrative transformation with genes from Saccharomyces cerevisiae. Yeast 30 (12), 485-500.

     Fukunaga T1, Cha-Aim K, Hirakawa Y, Sakai R, Kitagawa T, Nakamura M, Nonklang S, Hoshida H, Akada R. 2013. Designed construction of recombinant DNA at the ura3Δ0 locus in the yeast Saccharomyces cerevisiae. Yeast 30 (6), 243-253.

     Hoshida H1, Murakami N, Suzuki A, Tamura R, Asakawa J, Abdel-Banat BM, Nonklang S, Nakamura M, Akada R. 2014. Non-homologous end joining-mediated functional marker selection for DNA cloning in the yeast Kluyveromyces marxianus. Yeast 31 (1), 29-46.

    Phaphian Simachan, Patcharaporn Summat, Chorthip Kantachot, Sanom Ruamsuk. Yeast diversity in the area of UBON RATCHATHANI Zoo (NORTHEASTERN BOTANICAL GARDEN: DONG FA HUAN). The proceeding of The 42nd Congress on Science and Technology of Thailand, CENTARA GRAND AT CENTRAL PLAZA LADPRAO, BANGKOK, Nov. 30 - Dec. 02, 2016. 162-168.

    สุริยา ติ่งทอง, ชริดา ปุกหุต และสนม ร่วมสุข. การผลิตเอทานอลจากกากน้ำตาลของยีสต์ทนร้อนไอโซเลท UBU-3-12 เมื่อใช้กล้าเชื้อแบบแช่เย็นและระบบการหมักอย่างง่าย ในการประชุมวิชาการระดับชาติ มอบ. วิจัย ครั้งที่ 11 ความหลากหลายทางจุลชีวัน: รู้เท่าทันและการประยุกต์. 13-14 กรกฎาคม 2560. อาคารเทพรัตนสิริประภา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2560. 233-240.

     จิดาภา แสงสวันต์ และศศิธร หล่อเรืองศิลป์. การคัดแยกยีสต์จากลูกแป้งสาโทในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์. การประชุมวิชาการระดับชาติ มอบ. วิจัย ครั้งที่ 12. 12-13 กรกฎาคม 2561.  อาคารเทพรัตนสิริประภา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2561. 394-404.

    สุดารัตน์ จันทร์เชย  จักราวุธ คงอ่อน  ชญาณิลห์ หาญวลินโรจน์  อรวรรณ สิมพันธ์  สายสมร ลำลอง  กัมปนาท ฉายจรัส  ดวงดาว สัตยากูล  จิดาภา แสงสวันต์  ปทุมทิพย์ ผลโยญ  พฤทธิ์ คำศรี  อรดี พันกว้าง และพรพรรณ พึ่งโพธิ์. การศึกษาคุณสมบัติสารต้านอนุมูลอิสระและปริมาณทั้งหมดของสารประกอบฟีนอลิกของข้าวพันธุ์ไทย. การประชุมวิชาการระดับชาติ มอบ. วิจัย ครั้งที่ 12. 12-13 กรกฎาคม 2561.  อาคารเทพรัตนสิริประภา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2561. 345-349.

    Orawan Simpan, Jakkrawut Kongon, Supawan Pimdee, Duangdao Sattayakul, Malee Prajuabsuk, Saisamorn Lumlong, Kampanart Chayajaras, Jidapa Sangsawan, Patoomthip Polyon, Pharit Kamsri, Somjintana Taweepanich and Pornpan Pungpo, Antioxidant Activity and Phenolic Profiles of Traditional Thai Rice Varieties, Pure and Applied Chemistry International Conference 2019 (PACCON 2019), 2019, FA133-136.

    สุดาพร นนท์ศิริ  อรวรรณ สิมพันธ์  สิรินทิพย์ แสงสว่าง  สิริเพ็ญ โหมดม่วง  จักราวุธ คงอ่อน  ชญาณิลห์ หาญวลินโรจน์  สายสมร ลำลอง  มาลี ประจวบสุข  กัมปนาท ฉายจรัส  ดวงดาว สัตยากูล  จิดาภา แสงสวันต์  ปทุมทิพย์ ผลโยญ  พรพรรณ พึ่งโพธิ์ และสมจินตนา ทวีพานิชย์. การศึกษาฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระและปริมาณฟีนอลิกรวมของสารสกัดข้าวกล้องงอก.  การประชุมวิชาการระดับชาติ มอบ. วิจัย ครั้งที่ 13. 11-12 กรกฎาคม 2562.  อาคารเทพรัตนสิริประภา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2562. 126-134

    อรรถพล กุลบุตร  สุภาพร พรไตร  และจิดาภา แสงสวันต์. ๒๕๖๓. การผลิตเอทานอลจากการเพาะเลี้ยงยีสต์ลูกแป้งสาโทด้วยกากน้ำตาล. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ ๑๑(๑): XX-XX. (accepted Jan 2020)