Assoc.Prof. Dr. Saksri Supasorn
รศ.ดร. ศักดิ์ศรี สุภาษร
Assoc.Prof. Dr. Saksri Supasorn
Department : ภาควิชาเคมี
Room : SC119 และ Sc381 อาคารวิจัยคณะวิทยาศาสตร์
Phone : 4408 และ 4560
Mobile : -
E-mail : saksri.s@ubu.ac.th; saksri.supasorn@gmail.com
Education

B.Sc. (Chemistry, 2nd honor), Khon Kaen University, 2002

Dipploma (Teaching Profession), Khon Kaen University, 2003

Ph.D. (Science & Technology Education), Mahidol University, 2008

Assoc.Prof. in Education: Science Education

รองศาสตราจารย์ด้านศึกษาศาสตร์ (อนุสาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา)

Research interest
  1. Development and evaluation of multimedia learning tools (simulation, animation, web-based learning) in chemistry and science
  2. Effect of multimedia learning on student understanding and concept
  3. Development and evaluation of experimental kits for high school and undergraduate chemistry

ORCID iD: https://orcid.org/0000-0001-7527-7141

Google Scholar: https://scholar.google.co.th/citations?user=2kEW09cAAAAJ&hl=en

Scopus Author Preview: https://www.scopus.com/authid/detail.uri?authorId=24399822500 

Award and honour
    1. รางวัลศิษ์เก่ารุ่นใหม่ดีเด่น มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2567 (Mahidol University Young Alumni Award 2024)
    2. 2015 TRF-OHEC-SCOPUS Young Researcher Awards in Humanities & Social Sciences. Awarded by Thailand Research Fund (TRF).
    3. รางวัลบุคลากรดีเด่น ด้านการเรียนการสอน การวิจัย และผลงานสร้างสรรค์อื่นๆ ระดับคณะ วิทยาลัย สำนัก ประจำปี พ.ศ. 2557 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
Research grant
    1. Principal investigator: Small-scale chemistry laboratory to enhance science inquiry skills and conceptual understanding for high school students (Project code: MRG5480016), granted by TRF + OHEC + UBU (06/2011 - 06/2013). Status: Completed.
    2. Principal investigator: Small-scale chemistry laboratory to enhance science inquiry skills and conceptual understanding for high school students (Project code: MRG5480016), granted by TRF + OHEC + UBU (06/2011 - 06/2013). Status: Completed.
    3. Principal investigator: Development of the inquiry skills building chemistry experimental units (ISB-Chem) for secondary school students (Project code: 63739), granted by NRCT (10/2011 - 09/2012). Status: Completed.
    4. Principal investigator: Development of the inquiry skills building chemistry experimental units (ISB-Chem) for secondary school students (Project code: 81330), granted by NRCT (10/2012 - 09/2013)
    5. Principal investigator: Development of inquiry chemistry experiments in conjunction with molecular animations (ICEMA) to promote high school students’ conceptual understanding and conceptual change at molecular level (Project code: TRG5680024), granted by TRF + OHEC + UBU (06/2013 - 06/2014). Status: Completed.
    6. Principal investigator: Development of inquiry chemistry experiments in conjunction with molecular animations (ICEMA) to promote secondary school students’ conceptual understanding at molecular level (Project code: 163716), granted by NRCT (10/2014-09/2015). Status: Completed.
    7. Principal investigator: Development of small-scale and low-cost chemistry experimental (SLCE) kits to promote scientific conceptual understanding and conceptual changes for high school students (Project code: 196966), granted by TRON (06/2016-05/2017). Status: Completed.
    8. Principal investigator: Development of low-cost small scale chemistry experimental kits in conjunction with inquiry-based learning activities to promote high school students’ conceptual understanding and changes at molecular level (Project Code: RSA5980021) , granted by TRF + UBU (06/2016-05/2018). Status: Completed.
Publication
  1. International Publication:

    1. Khattiyavong, P., Thongtaow, P., Chairam, S.*, Supasorn, S., Jarujamrus, P., Amatatongchai, M., Nacapricha, D. (2023). Using Silver-Nanoparticle-Loaded Cotton Thread To Demonstrate the Continuous Flow Catalytic Reduction of 4-Nitrophenol. Journal of Chemical Education, 100, 12, 4803-4810.
    2. Kajornklin, P., Seeboonruang, K., Jarujamrus, P. & Supasorn, S. (2022). Learning Difficulties in High School Chemistry: The Case of Chemical Equilibrium. International Journal of Science Education and Teaching, 1(3), 121 - 127.
    3. Supasorn, S.*, Wuttisela, K., Moonsarn, A., Khajornklin, P., Jarujamrus, P., & Chairam, S. (2022). Grade-11 Students’ Conceptual Understanding of Chemical Reaction Rate from Learning by Using the Small-Scale Experiments. Jurnal Pendidikan IPA Indonesia, 11(3), 433-448. https://doi.org/10.15294/jpii.v11i3.36535
    4. Meelapsom, R., Rattanakaroonjit, W., Prakobkij, A., Malahom, N., Supasorn, S., Ruangchai, S. and Jarujamrus, P. (2022). Smartphone-Assisted Colorimetric Determination of Iron Ions in Water by Using Anthocyanin from Ruellia tuberosa L. as a Green Indicator and Application for Hands-on Experiment Kit. Journal of Chemical Education, 99(4), 1660–1671. https://pubs.acs.org/doi/10.1021/acs.jchemed.1c01120
    5. Supasorn, S.*, Jarujamrus, P., Chairam, S. and Amatatongchai, M. (2021). Portable syringe-vial kit of gas-generating reactions for easy demonstration of chemical reaction rate. Journal of Physics: Conference Series, 1806(1), 012175. https://iopscience.iop.org/article/10.1088/1742-6596/1806/1/012175
    6. Kajornklin, P., Jarujamrus, P.*, Phanphon, P. Ngernpradab, P., Supasorn, S., Chairam, S. and Amatatongchai, M. (2020). Fabricating a low-cost, simple, screen printed paper towel-based experimental device to demonstrate the factors affecting chemical equilibrium and chemical equilibrium constant, Kc. Journal of Chemical Education, 97(7), 1984–1991.
    7. Supasorn, S.*, Khajornklin, P. and Ditcharoen, N. (2018). Development of interactive particulate-level visualization in chemistry by using augmented reality technology: Collision theory and chemical reaction rate. Turkish Online Journal of Educational Technology, 17(Nov 2018, Special Issue for INTE-ITICAM-IDEC Vol. 1), 396-404.
    8. S. Akaygun , C. Brown, F. O. Karatas, S. Supasorn, Z. Yaseen. (2018). Teaching Chemistry with Analogies around the World: Views of Teachers from Four Countries (pp 129-146). In C. Cox and W. E. Schatzberg (Eds.), International Perspectives on Chemistry Education Research and Practice. July 2018 , 129-146.
    9. Supasorn, S.* and Amatatongchai, M. (2016). Development of conceptual understanding of acid-base by using inquiry experiments in conjunction with particulate animations for grade 8 students. Turkish Online Journal Of Educational Technology, 15(Special Issue for INTE 2016), 674-681.
    10. Chatmontree, A., Chairam, S., Supasorn, S, Amatatongchai, M., Jarujamrus, P., Tamuang, S. and Somsook, E. (2015). Student Fabrication and Use of Simple, Low-Cost, Paper-Based Galvanic Cells To Investigate Electrochemistry. Journal of Chemical Education, 92, 1044−1048.
    11. Supasorn, S. (2015). Grade 12 students’ conceptual understanding and mental models of galvanic cells before and after learning by using small-scale experiments in conjunction with a model kit. Chemistry Education Research and Practice, 16(2), 393-407. (DOI: 10.1039/C4RP00247D). Funded by TRG5680024. Online available at http://pubs.rsc.org/en/content/articlelanding/2015/rp/c4rp00247d
    12. Supasorn, S.* & Promarak, V. (2015). Implementation of 5E inquiry incorporated with analogy learning approach to enhance conceptual understanding of chemical reaction rate for grade 11 students. Chemistry Education Research and Practice, 16(1), 121-132. (DOI: 10.1039/C4RP00190G). Funded by TRG5680024. Online available at  http://pubs.rsc.org/en/content/pdf/article/2014/rp/c4rp00190g
    13. Supasorn, S. (2014). Online T5 learning model to enhance chemistry students’ understanding of nmr spectroscopy. World Journal on Educational Technology, 6(2), 139-150. Online available at http://archives.un-pub.eu/index.php/wjet/article/view/2920
    14. Saksri Supasorn* & Anchulee Lordkam. (2014). Enhancement of Grade 7 Students’ Learning Achievement of the Matter Separation by using Inquiry Learning Activities. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 116, 739-743. Funded by NRCT 2012-2013. Online available at http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1877042814003073
    15. Saksri Supasorn* & Saranya Waengchin. (2014). Development of Grade 8 Students’ Learning Achievement on Chemical Reaction by Using Scientific Investigation Learning. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 116, 744-749. Funded by NRCT 2012-2013. Online available at http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1877042814003085
    16. Saksri Supasorn*, Laorthip Kamsai & Vinich Promarak. (2014). Enhancement of Learning Achievement of Organic Chemistry Using Inquiry-based Semi-small Scale Experiments (SSSEs). Procedia - Social and Behavioral Sciences, 116, 769-774. Funded by MRG5480016. Online available at http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1877042814003127
    17. Supasorn, S*. (2012). Enhancing undergraduates’ conceptual understanding of organic acid-base-neutral extraction using inquiry-based experiments. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 46, 4643-4650. Funded by UBU 2009. Online available at http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1877042812020472
    18. Lati, W., Supasorn, S* & Promarak, V. (2012). Enhancement of learning achievement and integrated science process skills using science inquiry learning activities of chemical reaction rates. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 46. 4471-4475. Funded by MRG5480016. Online available at http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1877042812020150
    19. Supasorn, S*, & Vibuljan S. (2009). Use of an interactive NMR spectroscopy Course to enhance NMR understanding of university students. MERLOT Journal of Online Learning and Teaching, 5(3), 458-468. Online available http://jolt.merlot.org/vol5no3/abstracts.htm
    20. Supasorn, S., Suits, P.J., Jones, L.L., & Vibuljan, S. (2008). Impact of a pre-laboratory computer simulation of organic extraction on comprehension and attitudes of undergraduate chemistry students. Chemistry Education Research and Practice, 9(2), 169-181. Online available http://www.rsc.org/publishing/journals/RP/article.asp?doi=b806234j
  2. National Publication (Thai):

    1. เพชรวิไล ขัตติยวงศ์, ศักดิ์ศรี สุภาษร, เสนอ ชัยรัมย์. (2565). การทบทวนการพัฒนาอุปกรณ์แบบกระดาษและเส้นด้ายอย่างง่ายสำหรับห้องเรียนเคมี. วารสารวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ศึกษา, 5(1), 158-171.
    2. ภัทราวรรณ ศุภเลิศ, รัฐพล มีลาภสม, อัครพงศ์ ประกอบกิจ, ศักดิ์ศรี สุภาษร, ปุริม จารุจำรัส*. (2564). การไทเทรตกรด–เบสบนอุปกรณ์ตรวจวิเคราะห์ของไหลจุลภาคฐานกระดาษ (ไมโครแพด) โดยใช้อินดิเคเตอร์ธรรมชาติ. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 12(2), 186-201.
    3. วรันภัทร รัตนการุณจิต รัฐพล มีลาภสม ศักดิ์ศรี สุภาษร และปุริม จารุจำรัส*. (2563) การใช้สมาร์ทโฟนเป็นอุปกรณ์ตรวจวัดทางสีสำหรับการหาปริมาณไอออนเหล็กในน้ำโดยใช้แอนโทไซยานินเป็นรีเอเจนต์. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 11(1), 144-163.

    4. ภัทราวรรณ ศุภเลิศ รัฐพล มีลาภสม ศักดิ์ศรี สุภาษร และปุริม จารุจำรัส*. (2563). ชุดการทดลองสาธิตในวิชาเคมีที่อาศัยระบบของไหลจุลภาคที่ประดิษฐ์จากกระดาษ (µPAD) ที่สร้างโดยใช้ไขเทียนเป็นวัสดุไม่ชอบน้ำ. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 11(1), 164-187.

    5. ณัฐนันท์ เฉลียวพงษ์ และศักดิ์ศรี สุภาษร*. (2563). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการทดลอง เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี ด้วยการเรียนรู้แบบสืบเสาะร่วมกับเทคนิคทำนาย-สังเกต-อธิบาย. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 43(2), 17-30.
    6. กฤษฎา พนันชัย พนัสดา มาตราช สุภาพ ตาเมือง และศักดิ์ศรี สุภาษร. (2561). ความเข้าใจมโนมติและแบบจําลองทางความคิด เรื่อง สมดลเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จากการเรียนด้วยการเรียนรู้แบบสืบเสาะรวมกับเทคนิคการทํานาย-สังเกต-อธิบาย. วารสารวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ศึกษา, 1(1), 49-60.
    7. ฉัตรชฎา ติงสะ อารีรัตน์ ใจกล้า สุภาพ ตาเมือง และศักดิ์ศรี สุภาษร. (2561). ผลสัมฤทธิ์และความสามารถในการแก้ปัญหา เรื่อง สมบัติและปฏิกิริยาของสารอินทรีย์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากการเรียนรู้แบบสืบเสาะผสมผสานกับการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. วารสารวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ศึกษา, 1(1), 97-108.
    8. สุภาพ ตาเมือง กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา และศักดิ์ศรี สุภาษร. (2560). การพัฒนาความเข้าใจมโนมติของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ด้วยการทดลองแบบสืบเสาะ. ศึกษาศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 1(2), 1-15; กรกฎาคม - ธันวาคม 2560.
    9. สุภาพ ตาเมือง กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา และศักดิ์ศรี สุภาษร. (2560). ชุดการทดลองเคมีแบบย่อส่วนต้นทุนต่ำเพื่อสนับสนุนความเข้าใจมโนมติ เรื่อง สมดุลเคมี สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 8(2), 379-397; กรกฎาคม - ธันวาคม 2560. เข้าถึงได้จาก http://ejournals.swu.ac.th/index.php/JSTEL/article/view/9446/8066
    10. ศิริธร อ่างแก้ว, อริสรา อิสสะรีย์ และศักดิ์ศรี สุภาษร. (2559). การพัฒนาความเข้าใจมโนมติวิทยาศาสตร์ เรื่อง กรด–เบส ด้วยวัฏจักรการเรียนรู้แบบสืบเสาะ 5 ขั้น ผสมผสานกับเทคนิคการแข่งขันเกมแบบกลุ่ม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 11 ฉบับพิเศษ (ฉบับครุศาสตร์ – ศึกษาศาสตร์), 109-124.
    11. ศักดิ์ศรี สุภาษร, นุจรี สุภาษร  วรรณวไล อธิวาสน์พงศ์  และสนธิ พลชัยยา. (2559). การพัฒนาความเข้าใจมโนมติ เรื่อง สารละลาย ด้วยการทดลองแบบสืบเสาะร่วมกับภาพเคลื่อนไหวระดับอนุภาคสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้. 7(1), 28-47. เข้าถึงได้จาก http://ejournals.swu.ac.th/index.php/JSTEL/article/view/7475
    12. วิชัย ลาธิ และศักดิ์ศรี สุภาษร. (2556).การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. 24(1). 29-52. Online available at http://educms.pn.psu.ac.th/edujn/viewarticle.php?id=233&layout=abstract
    13. ศักดิ์ศรี สุภาษร (2555). บทบาทของเมนทอลโมเดลในการเรียนรู้วิชาเคมีในระดับโมเลกุล. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 35(1), 1-7.
    14. ธวัช  ยะสุคำ และ ศักดิ์ศรี  สุภาษร*. (2555). การพัฒนาทักษะการคิดเชิงวิพากษ์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 14(2), 23 – 34. Online available at http://www.edu.nu.ac.th/2005/Journal/jurnal.htm
    15. ดาลารีน อับดุลฮานุง, อัญชลี สำเภา และศักดิ์ศรี สุภาษร. (2555). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กรด–เบส และวิธีการทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้การเรียนแบบร่วมมือร่วมกับโครงงานวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. 23(1). 123-134. Online available at http://educms.pn.psu.ac.th/edujn/viewissue.php
    16. ศักดิ์ศรี สุภาษร. (2554). กระบวนการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ในการทดลองเคมีระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย : การทบทวนงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ศึกษาจากมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 22(3), 331-343. Online available at http://educms.pn.psu.ac.th/edujn/viewissue.php?id=19
  3. International Conference Proceedings:

    1. Saksri Supasorn*, Phetvilay Khattiyavong, Purim Jarujamrus, Vinich Promarak. (2014). Small-Scale Inquiry-Based Experiments to Enhance High School Students’ Molecular Conceptual Understanding of electrochemistry. International Proceedings of Economics Development and Research (IPEDR) : 2014 4th International Conference on Education, Research and Innovation– ICERI 2014, 81: 85-91. Editor: Feng Tao. Held at Novotel Pratunum Bangkok, Thaialand, 25-26 Setemver 2014. 
    2. Saksri Supasorn. (2010). Inquiry-based experiments to enhance students' conceptual understanding of organic acid-base extraction and purification. Proceedings from Pure and Applied Chemistry International Conference (PACCON 2010), pp. 180-183. Ubon Ratchathani: Ubon Ratchathani University.
    3. Saksri Supasorn. (2009). Implementation of paper-based T5 learning model to enhance student understanding: The case for low-achievement students in organic chemistry course. Proceedings from International Science Education Conference 2009 (ISEC 2009), 24-26 November 2009, pp. 1936-1950. Singapore : NIE.
  4. National Conference Proceedings:

    1. อารีรัตน์ ใจกล้า และศักดิ์ศรี สุภาษร. (2559). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการแก้ปัญหาเรื่อง สมบัติและปฏิกิริยาของสารอินทรีย์ด้วยวัฏจักรการเรียนรู้แบบสืบเสาะ 5 ขั้นผสมผสานกับการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (หน้า 600-609). บทความฉบับเต็มเผยแพร่ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ท้องถิ่นภิวัตน์” ครั้งที่ 1. วันที่ 10 สิงหาคม 2559 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์.
    2. พนัสดา มาตราช, สุภาพ ตาเมือง และศักดิ์ศรี สุภาษร. (2559). การพัฒนาความเข้าใจมโนมติวิทยาศาสตร์เรื่อง สมดุลเคมี ด้วยวัฏจักรการเรียนรู้แบบสืบเสาะ 5 ขั้นผสมผสานกับเทคนิคทำนาย-สังเกต-อธิบายในขั้นสรา้งความสนใจ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 (หน้า 356-366). บทความฉบับเต็มจากการประชุมวิชาการงานเกษตรแฟร์ ครั้งที่ 4. วันที่ 27 พฤศจิกายน 2559 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเเขตสกลนคร.
    3. วีรนุช อุดมคำ อริสรา อิสสะรีย์ และศักดิ์ศรี สุภาษร*. การพัฒนาความเข้าใจมโนมติวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยารีดอกซ์ด้วยวัฏจักรการเรียนรู้แบบสืบเสาะ 5 ขั้น สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (หน้า 1503-1511). บทความสืบเนื่องในการประชุมวิชาการระดับชาติ STCCON 2015 ครั้งที่ 1 นวัตกรรมการศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน. วันที่ 27 พฤศจิกายน 2558 ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม กรุงเทพมหานคร.
    4. นวลอนงค์  แก้ววงษ์ และศักดิ์ศรี สุภาษร. (2558). การพัฒนาความเข้าใจมโนมติวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารละลาย ด้วยการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 (หน้า 197-207). รายงานสืบเนื่องจาก การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 3 เรื่องบูรณาการงานวิจัยสู่ความรู้ที่ยั่งยืน ณ. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
    5. ฮิกมะฮ์ อาแวกะจิ และศักดิ์ศรี สุภาษร. (2558). การพัฒนาความเข้าใจมโนมติวิทยาศาสตร์ เรื่องสมดุลเคมี ด้วยวัฏจักรการเรียนรู้แบบสืบเสาะ 5 ขั้น ผสมผสานกับเทคนิคทำนาย-สังเกต-อธิบายในขั้นขยายความรู้ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 (หน้า 388-398). บทความฉบับเต็มจากการประชุมวิชาการ ม.อบ. วิจัย ครั้งที่ 9. วันที่ 2-3 กรกฎาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
    6. สนทยา บ้งพรม และศักดิ์ศรี สุภาษร. (2558). การพัฒนาความเข้าใจมโนมติวิทยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟ้าเคมี ด้วยวัฏจักรการเรียนรู้แบบสืบเสาะ 5 ขั้น ผสมผสานกับเทคนิคการทำนาย-สังเกต-อธิบายในขั้นขยายความรู้ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (หน้า 411-422). บทความฉบับเต็มจากการประชุมวิชาการ ม.อบ. วิจัย ครั้งที่ 9. วันที่ 2-3 กรกฎาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
    7. ทัศวรรณ ภูผาดแร่ และศักดิ์ศรี สุภาษร. (2557). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สารชีวโมเลกุล โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ร่วมกับกิจกรรมทานาย-สังเกต-อธิบาย (หน้า 1-6). รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “วิทยาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 6 วันที่ 20-21 มีนาคม 2557 มหาวิทยาลัยบูรพา.
    8. กรีฑา ภูผาดแร่ และศักดิ์ศรี สุภาษร. (2557). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง พอลิเมอร์และผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้สืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ร่วมกับเทคนิคทา นาย–สังเกต–อธิบาย (หน้า 20-25). รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “วิทยาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 6 วันที่ 20-21 มีนาคม 2557 มหาวิทยาลัยบูรพา.
    9. พนิดา กันยะกาญจน์ และศักดิ์ศรี สุภาษร. (2557). การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะร่วมกับแบบเปรียบเทียบเพื่อพัฒนามโนมติทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 (หน้า 26-31). รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “วิทยาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 6 วันที่ 20-21 มีนาคม 2557 มหาวิทยาลัยบูรพา.
    10. ดร ศรีสวัสดิ์ และศักดิ์ศรี สุภาษร. (2556). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการ เจตคติต่อการเรียนและความคงทนในการเรียนร้จากการเรียนรู้ปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ตามบริบทท้องถิ่น เรื่อง สารชีวโมเลกุล (หน้า 1836-1844). การประชุมวิชาการแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน ครั้งที่ 10 วันที่ 5-6 ธันวาคม 2556.
    11. เพ็ญศรี เศรษฐชัย, ศักดิ์ศรี สุภาษร และ นิภาวรรณ พองพรหม. การ จัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานสารในชีวิตประจาวันเป็นฐานในการพัฒนาทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการสาหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง (ปวส.). บทความสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ วิทยาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 4. 12-13 มีนาคม 2555. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร. 119-123. 
    12. ศรัญญา แวงชิน, โชติ จิตรังสี และศักดิ์ศรี สุภาษร. การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยวิธีการสาร วจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. บทความสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ วิทยาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 4. 12-13 มีนาคม 2555. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร. 252-256.
    13. อัญชุลี หลอดดำ, ศักดิ์ศรี สุภาษร และ รักเกียรติ  จิตคติ. การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ เรื่อง การแยกสาร สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่ 1. บทความสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ วิทยาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 4. 12-13 มีนาคม 2555. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร. 265-269. 
    14. รุ่งทิพย์ ศศิธร ชาญ อินแต้ม และศักดิ์ศรี สุภาษร. (2554). การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ไฟฟ้าเคมี ด้วยการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับชุดการเรียนรู้แบบ 5E (หน้า 723-728). การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติครั้งที่ 23. วันที่ 22-23 ธันวาคม 2554 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา.
    15. ศักดิ์ศรี สุภาษร. 2554. การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เอ็นเอ็มอาร์สเปกโทรสโกปี ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ตามโมเดล T5 ผ่านระบบออนไลน์ D4LP (น. 277-284). รายงานสืบเนื่องจากประชุมวิชาการ ม.อบ. วิจัย ครั้งที่ 5, 4-5 สิงหาคม 2554. โรงแรมสุนีย์แกรนด์โฮเทลแอนด์คอนเวนชั่นเซ็นเตอร์. อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 
    16. สุระ วุฒิพรหม, ศักดิ์ศรี สุภาษร, สุภาพร พรไตร, สุพจน์ สีบุตร, กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา, และ วรรณวไล อธิวาสน์พงศ์. ค่ายจุดประกายการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ด้วยตนเอง (บรรยาย). เอกสารตีพิมพ์ใน การสัมนาวิทยาศาสตร์ศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 3 ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว จ.เชียงใหม่ ระหว่างวันที่ 21-22 พฤศจิกายน 2551.