Asst.Prof.Prasongsom Punyauppapath
ผศ.ดร.ประสงค์สม ปุณยอุปพัทธ์
Asst.Prof.Prasongsom Punyauppapath
Department : ภาควิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ
Room :
Phone : 4228
Mobile : 4228
E-mail : prasongsom@gmail.com
ประวัติการศึกษา

2528 วิทยาศาสตรบัณฑิต เคมี-ชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตทับแก้วจังหวัดนครปฐม

2534 ประกาศนียบัตร Biodeterioration of Materials Faculty of Science University of Hong Kong Hongkong

2535 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพฯ

 2546 PhD. Biotechnology Faculty of Chemical and Metallurgies Engineering Royal Melbourne Institute of Technology (RMIT University)  Australia.

2550 ประกาศนียบัตร การจัดการสารเคมีและวัตถุเป็นพิษ สมาคมส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (สสวท.)

2550 ประกาศนียบัตร เทคโนโลยียาง สมาคมส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (สสวท.)

งานวิจัยที่สนใจ

- Biodegrable Polymers :  natural-based plasticizers and biopolymer 

- Waste Utilization : foods, indudtrial and agricultural waste 

- Bioremediation and Phytoremediation : synthetic dyes and heavy metals 

- Fermentation technology : alcohol fementation

- ฺBioactive compounds: antimicrobial from Actinomyces 

 

 

รางวัลและเกียรติยศ
  • 2555 นักวิจัยดีเด่นมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ด้านนวัตกรรม

    2555 นักวิจัยดีเด่นคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ด้านนวัตกรรม

    2556 นักวิจัยดีเด่นคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ด้านนวัตกรรม

ทุนวิจัย
  • - ทุนวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาบริษัทสี ICI แห่งประเทศไทยจำกัด

    - ทุนวิจัยระดับบัณุฑิตศึกษา RMIT University Melbourn Australia

    - ทุนพัฒนาอาจารย

    - ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน

ประสบการณ์การทำงาน
  •  - นักเคมีผู้ควบคุมกระบวนการผลิต บริษัทผลิตสีย้อมผ้า   “Thai Ambrica Chemicals” จังหวัดสมุทรปราการ

    - นักจุลชีววิทยา ห้องปฏิบัติการแบคทีเรีย “Institutes of National Animals Health and Production (Thailand)” มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพฯ

    - อาจารย์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

    - ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา

    - รองคณบดีฝ่ายวิจัย บริการวิชาการ และวิเทศน์สัมพันธ์

    - รองคณบดีฝ่ายวิจัยและบัณฑิตศึกษา

    - ประธานหลักสูตรมหาบัณฑิตสาขาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม

    -ประธานหลักสูตรหาบัณฑิตสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ

    - ผู้ตรวจประเมินคุณภาพระดับหลักสูตรและคณะ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ผลงานตีพิมพ์
  1. International conferences

    1. Punyauppa-path, P and Suwanarit, P. (1990) Fungal Species Affecting and deterioration of Paint Film in Thailand Proceeding of The training in Biodeterioration, University of Hong Kong, Hong Kong

    2. Punyauppa-path, P., Limthong , S., and Suwanarit, P. (1991) Fungal Species Causing deterioration of Paint Film in Thailand Proceeding of The First Symposium of Mycology in Asia (MIA I) Chulalongkorn University Bangkok Thailand pp.45-46 .

    3. Punyauppa-path, P., (1991) Fungal species causing deterioration and fungal resistance of paint filsm in labohail and Enviromental chamber, Master degree thesis Kasetasart University, Bangkok, Thailand 215 pp.

    4. Punyauppa-path, P., Limthong, S., Suwanarit, P., Manoch, L.,Kowkhanchit,  M., and Pongsathorn, V., (1992) Fungal species causing deterioration and fungal resistance of paint films in laboratory, environmental chamber and field condition Proceeding of The 31th Kasetsart University Annual Conference Kasetasart University, Bangkok, Thailand pp 296-297

    5. Punyauppa-path, P., Rodick, F.A., Battacharya, S.N. and Kosior, E.I. (1997) Processing of LLDPE-starch blend. Abstracts of Second Pacific Rim Conference on Rheology (ISBN 0-7326-4), July, Melbourne, pp 231-2

    6. Punyauppa-path, P., Battacharya, S.N. and Rodick, F.A. (1998) The effect of starch type on the biodegradability of PE-starch blends. Proceedings 13th Australian Biotechnology Conference, Adelaide, April, p. 162

    7. Punyauppa-path, P., Battacharya, S.N., Shah, G. and Rodick, F.A. (1998) Biodegradability of polyethylene-starch blends: the influence of starch types. Abstract of 4th International Society for Environmental Biotechnology, Belfast, June,   p.9.

    8. Punyauppa-path, P., Rodick, F.A. and Battacharya, S.N.(2001) Effect of starch type on the properties of biocompatibilised polyethylene-starch blends. Proceeding 6th World Congress of Chemical Engineering, Melbourne, Australia, September, (Accepted).

    9. Punyauppa-path, P (2001) The biodegradability of polyethylene-starch blends Ph.D . Thesis RMIT University, Melbourne, Australia, 281 pp

  2.  หนังสือและตำรา

    1. ประสงค์สม ปุณยอุปพัทธ์ กระบวนการผลิตเครื่องดื่มและเครื่องดื่,แอลกอฮอล์ 25ถ56 สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ กรุงเทพฯ

    2. ประสงค์สม ปุณยอุปพัทธ์ และ สุกฤตา ปุณยอุปพัทธ์ กระบวนการและจุลินทรีย์ในการผลิตอาหารหมัก 2560 สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ กรุงเทพฯ

  3. บทความวิชาการ

    1. ประสงค์สม ปุณยอุปพัทธ์, อดิศร เสวตวัฒน์ และวราวุฒิ ครูส่ง หลักการปฏิบัติที่ดีในการ ผลิตอาหารหมักพื้นบ้านไทย วารสารเกษตรพระจอมเกล้า คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ปีที่ 20 ฉบับที่ 3

    2. ประสงค์สม ปุณยอุปพัทธ์ การตวจสอบอาหาร/ หรือวัตถุดิบอาหารที่ถูกนำส่ง วารสารเกษตร พระจอมเกล้า คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบังปีที่ 21 ฉบับที่ 1-2

    3.  Punyauppa-path, P. and Pattanapipitpaisal, P. 2017 Biodegadable plastic: A review, AEE-TJ. Environ.Ed. 8(18): 51-59

  4. บทความวิจัยที่นำเสนอในการประชุมวิชาการ

    1. ประสงค์สม ปุณยอุปพัทธ์ วรมาศ นันทะแสง และ สุกฤตา ปุณยอุปพัทธ์ 2558 การบำบัดบัดสารหนูในน้ำโดยพืชน้ำ การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม วันที่ 30 – 31 มีนาคม 2558 หน้า 820 -827 (CD.)

    2. ประสงค์สมปุณยอุปพัทธ์ และ สุกฤตา ปุณยอุปพัทธ์ 2559 ความสามารถในการเจริญของเชื้อ Lentinus polychrous Lev. LP-479, Aspergillus oryzae และ Saccharomyces cerevisiae บนอาหารขนไก่บดผสมน้ำกากส่าและ กระบวนการหมักแบบอาหารแข็ง การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 8 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม วันที่ 30 – 31 มีนาคม 2559 หน้า 19 - 27 (CD.)

    3. ประสงค์สมปุณยอุปพัทธ์ และ สุกฤตา ปุณยอุปพัทธ์ 2560 การศึกษาสูตรอาหารจากถั่วเหลืองสกัดในการเจริญของเส้นใยเห็ดขอนขาวและเห็ดกระด้าง Study of soybean extracted media formulation for the growth of Lentinus polychrous and Lentinus squarrosulus mushroom.แข็ง การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม วันที่ 28 – 29 กันยายน 2560 หน้า 19 - 27 (CD.)

    4. ประสงค์สมปุณยอุปพัทธ์ และ สุกฤตา ปุณยอุปพัทธ์ 2561 การผลิตวัวดุคล้ายพลาสติกที่สามารถย่อยสลายได้จากกลุเตนและกลีเซลอรอล การประชุมวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ สถาปัตยกรรมศาสตร์ ครั้งที่ 9 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น วันที่ 7 กันยายน 2561 หน้า 19 - 27 (CD.)

  5. อนุสิทธิบัตร

    1. ผลิตภัณฑ์ดินน้ำมันชีวภาพที่มีส่วนผสมของกลูเตนแบบสด (Fresh gluten) และ กรรมวิธีในการผลิต ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว เลขที่คำขอ 1303000398 (2558)

    2. ผลิตภัณฑ์ดินปั้นชีวภาพที่มีส่วนผสมของกลูเตนแบบสด (Fresh gluten) และ กรรมวิธีในการผลิต ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว เลขที่คำขอ 1303000838 (2558)

การฝึกอบรม
  • - การจัดการสารเคมีและวัตถุเป็นพิษ สมาคมส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (สสวท.)

    - ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ