Assoc. Prof. Dr.Pranee Pattanapipitpaisal
รศ.ดร.ปราณี พัฒนพิพิธไพศาล
Assoc. Prof. Dr.Pranee Pattanapipitpaisal
Department : ภาควิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ
Room : SC 330
Phone : 4502
Mobile : 0-4535-3401-4 ext. 4502
E-mail : scpranpa@gmail.com
Education

(1984)    B.Sc. (Biology), Srinakarinwirot University, Bangsane, Thailand 
              Project: Effect of Adrin and Gromxon on the growth of Aeromonas hydrophila
(1988)    M.Sc. (Microbiology), Kasetsart University, Thailand 
              Thesis: A Study on Starch Saccharifying Enzyme from Thermotolerant Fungi
(2001)    Ph.D. (Biological Sciences), The University of Birmingham, England
              Thesis: Bioreduction of chromate and detection of resistance genes in Gram- positive and Gram-negative bacteria

Research interest

- Molecular genetic of bacteria for heavy-metal reduction/degradation 
- Bioremediation of toxic metal and other pollutants
- Immobilized cell technology 
- Enzyme Technology 
- Biological control

Award and honour
  • เครื่องราชอิสริยาภรณ์

    2541     ตริตาภรณ์มงกุฎไทย  

    2543     ตริตาภรณ์ช้างเผือก 

    2548     ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย

    2552     ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก

    2557     ประถมาภรณ์มงกุฎไทย

    2563     ประถมาภรณ์ช้างเผือก

Research grant
  • ทุนการศึกษา/อบรม

    1996 ทุนโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาและบุคลากรของสถาบันอุดมศึกษาไทยกับ ต่างประเทศ (University Mobility in Asia and the Pacific – UMAP) May-August 1996 at F.A. Janssens Laboratory of Genetics, Faculty of Agricultural and Applied Biological Sciences, Katholieke University, Leuven Belgium
       
    1997-2001 ทุนทบวงมหาวิทยาลัย (ทุนโครงการพัฒนาอาจารย์สาขาขาดแคลน) Scholarship from Ministry of University Affairs, Thailand for Ph.D.program at The University of Birmingham, England

    ทุนวิจัยที่ได้รับการสนับสนุน

    1. โครงการวิจัยเรื่อง การคัดเลือกแบคทีเรียทนอุณหภูมิสูงที่สร้างเอนไซม์ไลเปส ทุนสนับสนุนการทำวิจัยเงินรายได้มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2546
    2. โครงการวิจัยเรื่อง การรีดิวส์โครเมตโดยเเบคทีเรียทนอุณหภูมิสูง เงินงบประมาณเพื่อการวิจัยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ พ. ศ. 2547
    3. โครงการวิจัยเรื่อง การตรวจวินิจฉัยและเก็บรวบรวมแอคติโนมัยสีทที่แยกจากดินในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เงินงบประมาณเพื่อการวิจัยโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ปีงบประมาณ พ. ศ. 2547
    4. โครงการวิจัยเรื่อง การรีดิวส์โครเมตโดยเซลล์และเอนไซม์โครเมตรีดัสเตสที่ถูกตรึง เงินงบประมาณเพื่อการวิจัยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ พ. ศ. 2548-2549
    5. โครงการวิจัยเรื่อง การใช้กล้าเชื้อแอคติโนมัยสีทปฏิปักษ์ที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อสาเหตุโรคเพื่อการผลิตพริกและแตงกวาอินทรีย์ ทุนสนับสนุนจากฝ่ายวิชาการ สำนักงานกองทุนสนับสนุนวิจัย (สกว.)ปีงบประมาณ 2549-2551
    6. โครงการวิจัยเรื่อง การควบคุมเชื้อสาเหตุโรคเหี่ยวของมะเขือเทศด้วยกล้าเชื้อเอนโดฟัยติคแอคติโนมัยสีท เงินงบประมาณเพื่อการวิจัยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ พ. ศ. 2550-2551
    7. ชุดโครงการวิจัยเรื่อง การแพร่กระจายของอาร์ซินิคในเขตชนบทลุ่มแม่น้ำโขงและการพัฒนากระบวนการบำบัดน้ำใต้ดินที่ปนเปื้อนอาร์ซินิค เงินงบประมาณเพื่อการวิจัยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ พ. ศ. 2552-2554
    8. โครงการวิจัยย่อยเรื่อง การปนเปื้อนของอาร์ซินิคในน้ำใต้ดินและตะกอนดิน เขตชนบทลุ่มแม่น้ำโขงจังหวัดอุบลราชธานี เงินงบประมาณเพื่อการวิจัยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ พ. ศ. 2552
    9. โครงการวิจัยย่อยเรื่อง การบำบัดน้ำใต้ดินที่ปนเปื้อนอาร์ซินิคด้วยกระบวนการทางชีวภาพโดยใช้แบคทีเรีย เงินงบประมาณเพื่อการวิจัยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ พ. ศ. 2553-2554
    10. โครงการวิจัยเรื่อง การผลิตเอนไซม์ฟอกสีเมลานินโดยเชื้อราและการนำไปประยุกต์ใช้ในการฟอกย้อมสีผม (ส่วนที่ ๑) เงินงบประมาณเพื่อการวิจัยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ พ. ศ. 2559
    11. โครงการวิจัยเรื่อง การผลิตเอนไซม์ฟอกสีเมลานินโดยเชื้อราและการนำไปประยุกต์ใช้ในการฟอกย้อมสีผม (ส่วนที่ ๒) เงินงบประมาณเพื่อการวิจัยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ พ. ศ. 2560
Working experience
  • ด้านวิชาการ

    4 ตุลาคม 2536-10 กันยายน 2546  อาจารย์ สาขาจุลชีววิทยา ภาควิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

    10 กันยายน 2546-30 ตุลาคม 2556  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาจุลชีววิทยา ภาควิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

    31 ตุลาคม 2556-ปัจจุบัน  รองศาสตราจารย์ สาขาจุลชีววิทยา ภาควิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

    ด้านการบริหารและด้านอื่นๆ 

    1 ตุลาคม 2537-31 มีนาคม 2539  รักษาราชการแทนหัวหน้าภาควิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

    1 กรกฎาคม 2545-28 กุมภาพันธ์ 2548  รองคณบดีฝ่ายบริหารงานบุคคล คณะวิทยาศาสตร์

    14 ตุลาคม 2551-31 มีนาคม 2554  รักษาราชการแทนรองคณบดีฝ่ายบริหาร วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

    9 พฤษภาคม 2554-8 พฤษภาคม 2555 รักษาราชการแทนรองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะศิลปะประยุกต์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

    1 มีนาคม 2557-31 ตุลาคม 2557  รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

    2553-ปัจจุบัน  ผู้ตรวจประกันคุณภาพภายในระดับภาควิชา คณะ/สำนักและมหาวิทยาลัยฯ ภายในและภายนอกสถาบัน

Publication
  1. ผลงานวิจัย

    1. ปราณี มุ่งสันติ. 2527. ผลของแอลดิลและกรัมม็อกโซนต่อการเจริญของ Aeromonas hydrophila (Effect of Adrin and Gromxon on the growth of Aeromonas hydrophila. สารนิพนธ์ระดับปริญญาตรี. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน ชลบุรี.
    2. ปราณี มุ่งสันติ. 2531. การศึกษาเอนไซม์ย่อยแป้งที่ผลิตจากเชื้อราเจริญที่อุณหภูมิสูง (A Study on Starch Saccharifying Enzyme from Thermotolerant Fungi). วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท. ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพมหานคร.
    3. ปราณี พัฒนพิพิธไพศาล. 2545. การลดความเป็นพิษของโครเมียมโดยแบคทีเรีย. วารสารวิชาการ ม.อบ. 2: 30-35.
    4. ปราณี พัฒนพิพิธไพศาล. 2547. การคัดแยกแบคทีเรียทนอุณหภูมิสูงที่มีประสิทธิภาพในการรีดิวส์โครเมต. วารสารวิชาการ ม.อบ. 6: 53-63.
    5. ปราณี พัฒนพิพิธไพศาล. 2548. การคัดแยกแบคทีเรียทนอุณหภูมิสูงที่สร้างไลเปส. วารสารวิชาการ ม.อบ. 7 : 95-114.
    6. ปราณี พัฒนพิพิธไพศาล. 2549. การลดปริมาณโครเมตที่มีความเป็นพิษโดยเซลล์และสารสกัดจากเซลล์ที่ถูกตรึงด้วยโพลีไวนีลแอลกอฮอล์. วารสารวิทยาศาสตร์ลาดกระบัง. 15: 1-11.
    7. ปราณี พัฒนพิพิธไพศาล. 2549. การลดความเป็นพิษของโครเมตโดยเซลล์แบคทีเรีย Bacillus fusiformis NTR9 และเม็ดบีทตรึงเซลล์. การประชุมวิชาการ ม. อบ. ครั้งที่ 1. 28-29 กรกฎาคม 2549 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. อุบลราชธานี.
    8. ปราณี พัฒนพิพิธไพศาล. 2551. การปนเปื้อนสารหนูในน้ำใต้ดินเขตลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง. วารสาร วิชาการ ม.อบ. 10: 27-39.
    9. ปราณี พัฒนพิพิธไพศาล เอมอร คำเพราะ และรัชฏาพร นวะพิฒ. 2552. การคัดเลือกเชื้อแอคติโนมัยสีทที่มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญ ของเชื้อราสาเหตุโรคเหี่ยวของมะเขือเทศ. วารสารวิชาการ ม.อบ. 11: 9-17.
    10. ปราณี พัฒนพิพิธไพศาล และพิยาดา สุรารักษ์. 2554. การปนเปื้อนอาร์ซินิคและคุณภาพนํ้าใต้ดินในอำเภอเขมราฐ และอำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 13: 50-58.
    11. อรอุษา รุ่งเรือง และปราณี พัฒนพิพิธไพศาล. 2554. การบำบัดนํ้าเสียปนเปื้อนไขมันด้วยเซลล์แบคทีเรียตรึงรูปและไลเปสตรึงรูป. การประชุมวิชาการ ม.อ. ภูเก็ตวิจัย ครั้งที่ 4 (2554) 16-18 พฤศจิกายน 2554. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต. จังหวัดภูเก็ต
    12. ปราณี พัฒนพพิธไพศาล และ ชนิดาภา นวะพิฒ. 2555. การควบคุมโรครากเน่าโคนเน่าของพริกที่มีสาเหตุจากเชื้อรา Sclerotium rolfsii ด้วยเชื้อแอคติโนมัยสีท Streptomyces hygroscopicus PACCH24 ที่สร้างเอนไซม์ไคติเนส. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 14: 10-22.
    13. จิราวรรณ มลาไวย์ สายน้ำผึ้ง ฉายาพัฒน์ และปราณี พัฒนพิพิธไพศาล. 2555. การคัดเลือกไลเปสจากแบคทีเรียชอบอุณหภูมิสูงเพื่อการบำบัดน้ำเสียที่ปนเปื้อนไขมัน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 14(2): 71-77.
    14. ทิพย์มณฑา ฤกษ์ใหญ่ และปราณี พัฒนพิพิธไพศาล. 2556. ปัจจัยที่มีผลต่อกิจกรรมเอนไซม์โครเมตรีดักเทสโดยสารสกัดจากเซลล์แบคทีเรียชอบอุณหภูมิสูง Bacillus fusiformis NTR9. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา. 18(1): 56-66.
    15. กรรณิการ์ บุตรสระคู และปราณี พัฒนพิพิธไพศาล. 2556. การบำบัดไขมันและลดค่าบีโอดีในนํ้าเสียสังเคราะห์ที่ปนเปื้อนไขมันด้วยเซลล์ตรึง  รูปด้วยอัลจิเนต. The 7th UBU research Conference. Ubon Ratchathani University, Ubon Ratchathani. p. 64-73.
    16. ดาริกา เพิ่มพร และปราณี พัฒนพิพิธไพศาล. 2556. การกำจัดสีย้อมอะโซที่ใช้ในอุตสาหกรรมสิ่งทอด้วยกลุ่มแบคทีเรียตรึงรูป. The 7th UBU research Conference. Ubon Ratchathani University, Ubon Ratchathani. p. 74-81.
    17. พิทยา วามะขันธ์ และปราณี พัฒนพิพิธไพศาล. 2556. การบำบัดนํ้าใต้ดินสังเคราะห์ที่ปนเปื้อนสารประกอบอาร์ซินิคด้วยถังปฏิกรณ์ไบโอฟิล์ม. The 7th UBU research Conference. Ubon Ratchathani University, Ubon Ratchathani. p. 82-89.
    18. ปราณี พัฒนพิพิธไพศาล และดาริกา รูปงาม. 2557. การกำจัดสีอะโซด้วยเม็ดบีทกลุ่มแบคทีเรียตรึงรูป. วารสารวิทยาศาสตร์ลาดกระบัง. 23(2): 17-29.
    19. สมหวัง ฤทธิ์ทวงศ์และปราณี พัฒนพิพิธไพศาล. 2558. การกำจัด As(III) และ Mn(II) ในน้ำใต้ดินสังเคราะห์โดยถังปฏิกรณ์แบบ packed-bed. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 36 หน้า 255-261. วันที่ 29-31 ตุลาคม 2558. ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่.
    20. ทักษกร วงศ์สีดาและปราณี พัฒนพิพิธไพศาล. 2558. การกำจัดแอมโมเนียม-ไนโตรเจนจากน้ำเสียสังเคราะห์ที่ปนเปื้อนแอมโมเนียมโดยตะกอนเร่งตรึงรูป. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการ ม.อบ. วิจัย ครั้งที่ 9. หน้า 578-583. วันที่ 2-3 กรกฎาคม 2558. โรงแรมยูเพลส มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี.
    21. เจนจิรา สาริโล และ ปราณี พัฒนพิพิธไพศาล. 2559. การแยกและคัดเลือกแอคติโนมัยซีทที่สร้างเมลานิน. การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2559. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
    22. ชุติมา ทองอ้ม ตรีทเศศ บัวศรี และ ปราณี พัฒนพิพิธไพศาล. 2559. ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตเอนไซม์ฟอกสีเมลานินโดยเชื้อราสายพันธุ์ MA1 และ MA4. การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2559. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
    23. พนิดา ไชยพร หทัยกาญจน์ ไชยศร และ ปราณี พัฒนพิพิธไพศาล. 2559. ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตเมลานินโดยเชื้อแอคติโนมัยซีทสายพันธุ์ PRBS-12 และสายพันธุ์ PNST-01. การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2559. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
    24. พิยาดา ไชยสินธุ์ และ ปราณี พัฒนพิพิธไพศาล. 2559. สภาวะที่เหมาะสมต่อการออกซิเดชันอาร์ซิไนต์โดย Bacillus sp. PNKP-S2. วารสารวิทยาศาสตร์ลาดกระบัง. 25: 14-26.
    25. พูลทรัพย์ ชมดี มะลิวรรณ ชายทวีป วรรณา ศรีพรม และ ปราณี พัฒนพิพิธไพศาล. 2559. การแยกและคัดเลือกแบคทีเรียและเชื้อราที่สร้างเอนไซม์ฟอกสีเมลานิน. การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2559. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
    26. ชุติมา ทองอ้ม, ตรีทเศศ บัวศรี, ศศิวรรณ ศิริชน, นภัทรสกร พวงท้าว และปราณี พัฒนพิพิธไพศาล. 2560. การผลิตเอนไซม์ฟอกสีเมลานินโดยเชื้อรา Aspergillus flavus MA4 โดยกระบวนการหมักแบบอาหารแข็ง. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ฉบับพิเศษ กรกฎาคม 2560.
    27. สมหวัง ฤทธิ์ทวงศ ประสงค์สม ปุณยอุปพัทธ์ และ ปราณี พัฒนพิพิธไพศาล. 2561. การบำบัด As(III), Mn(II) และ NH4+-N ในนํ้าใต้ดินสังเคราะห์ด้วยถังปฏิกรณ์ไบโอฟิล์มเชื่อมต่อด้วยถังปฏิกรณ์แบบกรอง. วารสารวิทยาศาสตร์ มข. 46(4): 777-788.
    28. ปราณี พัฒนพิพิธไพศาล ภาณุมาศ พรมลา และ สุภาภรณ์ ศรีจันทา. 2562. การสร้างเม็ดสีเมลานินและฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรียโดยเมลานินที่ผลิตโดยแอคติโนมัยซีทีสสายพันธุ์ PNST-01 และสายพันธุ์ PRBS-12. วารสารวิชาการและวิจัย มทร. พระนคร สาขาวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี. 13: 142-155.
    29. De Mot R., I. Nagy, A. De Schrijer, P. Pattanapipitpaisal, G. Schoofs and J. Vanderleyden. 1997. Structural analysis of the 6-kb crytic plasmid pFAJ2600 from Rhodococcus erythipolis N186/21 and construction of Eschericia coli-Rhodococcus shuttle vectors. Microbiol. 143:3137-3147.
    30. Badar, U., N. Ahmed, A. J. Beswick, P. Pattanapipitpaisal and L. E. Macaskie. 2000. Reduction of chromate by microorganisms isolated from metal contaminated sites of Karachi, Pakistan. Biotechnol. Lett. 22: 829-836.
    31. Pattanapipitpaisal, P., N. L. Brown and L. E. Macaskie. 2001. Chromate reduction and 16S rRNA identification of bacteria isolated from a Cr(VI) contaminated site. Appl. Microbiol. and Biotechnol. 57: 257-261.
    32. Pattanapipitpaisal, P., N. L. Brown and L. E. Macaskie. 2001. Chromate reduction by Microbacterium liquefaciens immobilised in polyvinyl alcohol. Biotechnol. Lett. 23: 61- 65.
    33. Pattanapipitpaisal, P., J. L. Hobman, N. L. Brown and L. E. Macaskie. 2001. Bioreduction of Cr(VI) by Microbacterium sp. isolated from tannery waste and used of immobilised cells for continuous removal of Cr(VI). Proceeding of the International Biohydrometallurgy Symposium, Brazil, 1-3 September 2011.
    34. Pattanapipitpaisal, P., A. N. Mabbett, J. A. Finley, A. J. Beswick, M. Paterson-Beedle, A. Essa, J. Wright, M. R. Tolley, U. Badar, N. Ahmed, J. L. Hobman, N. L. Brown and L. E. Macaskie. 2002. Reduction of Cr(VI) and bioaccumuation of chromium by Gram- positive and Gram-negative microorganisms not previously exposed to Cr-stress. Environ. Technol. 23:731-745.
    35. Nuratsa, I and P. Pattanapipitpaisal. 2004. Chromate removal by polyvinyl alcohol- immobilized bacterium. 30th Congress on Science and Technology of Thailand 19-21 October 2004. Impact Exhibition and Convention Center, Muang Thong Thani, Bangkok.
    36. Pattanapipitpaisal, P. 2007. Isolation and characterization of actinomycete antagonists of chili damping- off disease. Proceeding of the 5th International Symposium on Biocontrol and Biotechnology. Nongkhai Campus, Thailand, November 1-3, 2007 at Nongkhai Province, Thailand
    37. Bongkojprai Sornprom and P. Pattanapipitpaisal. 2007 Screening of bacterial antagonists for inhibiting growth of Xanthomonas campestris pv. vesicatoria, the causal agent of bacterial leaf spot of tomato. Proceeding of the 5th International Symposium on Biocontrol and Biotechnology. Nongkhai Campus, Thailand, November 1-3, 2007 at Nongkhai Province, Thailand.
    38. Pattanapipitpaisal, P. and P. Suraruk. 2011. Groundwater Quality and Arsenic Contamination in Amphoe Khemmarat, Ubon Ratchathani, Thailand. Proceeding of the 1st Environmental Asia International Conference on “ Environmental Supporting in Food and Energy Security: Crisis and Opportunity” 22-25 March 2011. Rama Garden Hotel. Bangkok. Thailand.
    39. P. Pattanapipitpaisal, P. Suraruk. 2012. Groundwater Quality and Arsenic Contamination in amphoe Khemmarat, Ubon Ratthathani, Thailand. J. Env. Sci and Engineer. 1: 133-141.
    40. Pattanapipitpaisal, P. and R. Kamlandharn. 2012. Screening of chitinolytic actinomycetes for biological control of Sclerotium rolfsii stem rot disease of chilli. Songklanakarin J. Sci. Technol. 34(4): 387-389
    41. Pattanapipitpaisal, P. and T. Reakyai. 2013. Cr(VI) reduction by cell-free extract of thermophillic Bacillus fusiformis NTR9. Songklanakarin J. Sci. Technol. 35(4): 407-414.
    42. Pattanapipitpaisal, P., N. Yodsing, R. Santhaweesuk and P. Wamakhan. 2015. Arsenite oxidation and arsenite resistance by Bacillus sp. PNKP-S2. EnvironmentAsia. 8(1): 9-15.
    43. Tasakorn Wongseeda and Pranee Pattanapipitpaisal. 2016. Removal of ammomium-nitrogen from synthetic wastewater using CAS immobilized alginate beads. The 28th Annual Meeting of the Thai Society for Biotechnology and International Conference. Chiang Mai.

    หนังสือ/ตำรา

    1. ปราณี พัฒนพิพิธไพศาล. 2556. เทคโนโลยีเอนไซม์. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร.
    2. ปราณี พัฒนพิพิธไพศาล. 2560. เทคโนโลยีการตรึงเอนไซม์. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร.