Misskarntarat wuttisela
รศ.ดร.กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา
Misskarntarat wuttisela
Department : ภาควิชาเคมี
Room : 389
Phone : 4539
Mobile : 0897191940
E-mail : karntarat.w@ubu.ac.th
ประวัติการศึกษา

B.Sc. (Chemistry, 1st honor), UbonRatchathani University, 2002

Diploma (Teaching Profession), Mahasarakarm University, 2003

Ph.D. (Science & Technology Education), Mahidol University, 2008

งานวิจัยที่สนใจ

Chemistry Education

Polymer

รางวัลและเกียรติยศ
  • เข็มพระราชทานสมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี

    โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย

ทุนวิจัย
  • ทุน สควค

    ทุนพัฒนาอาจารย์สาขาขาดแคลน มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

    ทุนวิจัยร่วม สกว+วช+มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

    กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา. (2559). การเปรียบเทียบการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเรื่องการสังเคราะห์และการนำโซเดียมพอลิอะคริเลตกลับมาใช้ใหม่ที่ใช้และไม่ใช้โปรแกรม D4L+P: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

ประสบการณ์การทำงาน
  • รับราชการตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน  พ.ศ. 2551 

ผลงานตีพิมพ์
  1. 7.1 หนังสือ

    กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา. (2565). หนังสือสะเต็มศึกษา 9 กระบวนทัศน์ใหม่. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

    7.2  บทความวิจัยในระดับนานาชาติ

    Wuttiprom, S., Wuttisela, K., & Khlongkhlaew, K. (2019). Play dough circuits: a tangible and friendly medium for understanding physics. In Journal of Physics: Conference Series, 1380(1), 012150.

    Wuttisela, K. (2017). Authentic Assessment Tool for the Measurement of Students' Understanding of the Valence Shell Electron Pair Repulsion Theory. Universal Journal of Educational Research, 5(9), 1549-1553.

    Wuttisela, K. (2017). Fostering Students' Creativity by Designing Their Own Periodic Table. Turkish Online Journal of Educational Technology, special issue. 344-348.

    Wuttiprom, S., Toeddhanya, K., Buachoom, A., & Wuttisela, K. (2017). Using Plickers Cooperate with Peer Instruction to Promote Students' Discussion in Introductory Physics Course. Universal Journal of Educational Research 5(11): 1955 – 1961.

    Wuttiprom, S., Wuttisela, K., Phonchaiya, S., Athiwaspong, W., Chitaree, R., & Sharma, M. D. (2016). Preliminary Results of Professional Development Program for School Science Research. Universal Journal of Educational Research 4(4): 842-848.

    Wuttisela, K., Wuttiprom, S., Phonchaiya, S., & Saengsuwan, S. (2016). Implementation of Online Peer Assessment in a Design for Learning and Portfolio (D4L+ P) Program to Help Students Complete Science Projects. Turkish Online Journal of Educational Technology, 15(4). 69-76.

    7.3  บทความวิจัยในวารสารระดับชาติ

    เอกพงศ์ บัวชุม ธนิดา สุจริตธรรม กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา โชคศิลป์ ธนเฮืองและสุระ วุฒิพรหม. (2565). กิจกรรมหุ่นยนต์เดินตามเส้นอัตโนมัติตามแนวทางสะเต็มศึกษาเพื่อพัฒนาแนวคิดเรื่องแรงและการเคลื่อนที่. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 13(1), 99-111. 

    ทักษิณา พิทักษา, ปฏิภาณ พิทักษา, น้ำฝน รุ่งโรจน์, สนธิ พลชัยยา, กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา. (2562). ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาเรื่องรถแข่งโภชนาการของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่6. วารสารวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ศึกษา, 2(1), 57-70.

    ศุภชัย กองสุข, ฐาปนีรัตน์ นาสารี, สุดารัตน์ โคตรสา, น้ำฝน รุ่งโรจน์, สนธิ พลชัยยา, กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา. (2562). การสังเคราะห์และพิสูจน์เอกลักษณ์เส้นแคลเซียมอัลจิเนตหลากสี. วารสารวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ศึกษา, 3(1), 1-7.

    สุระ  วุฒิพรหม กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา และรัชภาค จิตต์อารี. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานฐานวิจัยของครูห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์เครือข่ายภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้. 7(2). 350-362.

    กาญจนา วงค์ไชยาและ กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา. (2559). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์กัลวานิกด้วยการจัดการเรียนรู้แบบทำนาย-อธิบาย-สังเกต-อธิบาย-อภิปราย,วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน, 1(1). 69-80.

    พัศยา สันสน และกานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา. (2558). การพัฒนามโนมติวิทยาศาสตร์ เรื่อง รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โดยกลวิธีจำลอง-สังเกต-สะท้อนกลับ-อธิบาย สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 6(2), 83 – 97.

    อัจฉรีรัตน์ ศิริ ประนอม แซ่จึง และกานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา. (2558). การสำรวจมโนมติทางวิทยาศาสตร์ เรื่องสารโคเวเลนต์และไอออนิกโดยใช้เทคนิคแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ร่วมกับบัตรแสดงพันธะเคมี. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้. 6(2), 198 - 208.

    ไชยา พรมโส ประนอม แซ่จึง และกานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา. (2558). การศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนและมโนมติ เรื่องรูปร่างและสภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ด้วยเทคโนโลยีออกเมนเต็ดเรียลลิตี้. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้. 6(1), 57 - 69.

    กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา. (2557). แบบจำลองอะตอมโมเลกุลทางเลือกสำหรับการสอนเรื่องทฤษฎีแรงผลักระหว่างคู่อิเล็กตรอนในวงเวเลนซ์. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 5(2), 209-213.

    สุระ วุฒิพรหม  กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา และรัชภาคย์ จิตต์อารี. (2557). โครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์และการประเมินศักยภาพครูวิทยาศาสตร์ในบทบาทของผู้ประเมินโครงงานวิทยาศาสตร์. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 5(1), 66-75.

     

    7.4 บทความในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ  

    Sankot, J., Suparb Tamuang, S., Wuttisela, K. (2021). Fostering Grade 4 Students’ Creative Thinking through STEM Education Activities entitled "A Young Engineer". The 8th International Conference for Science Educators and Teachers.

     

    7.5 บทความในการประชุมวิชาการระดับชาติ  

    ปริญวรรณ สุนทรักษ์, กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา.  (2564). การพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เรื่องตารางธาตุ. การประชุมวิชาการระดับชาติเรื่อง คุณภาพของการบริหารจัดการและนวัตกรรม ครั้งที่ 6, 782 – 793.

    จีระยา แสนโคตร, กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา.  (2564). การออกแบบเชิงวิศวกรรมของนักเรียนชั นประถมศึกษาปีที่ 4 ในกิจกรรมสะเต็มศึกษาเรื่องบ้านลอยน้ำติดไฟแอลอีดี. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 7 “วิถีพุทธ วิถีชุมชน รากฐานชีวทัศน์เชิงสังคมล้านนาในสังคมวิถีใหม่”, 53 – 63.                            

    ยิ่งลักษณ์ ผลาผล, กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา.  (2564). ความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาเรื่องนักธรณีวิทยารุ่นเยาว์. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 7 “วิถีพุทธ วิถีชุมชน รากฐานชีวทัศน์เชิงสังคมล้านนาในสังคมวิถีใหม่”, 99 – 108.

    พัฒนสิน สิรไชยสิทธิ์, กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา.  (2564). ความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาเรื่องนักธรณีวิทยารุ่นเยาว์. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 7 “วิถีพุทธ วิถีชุมชน รากฐานชีวทัศน์เชิงสังคมล้านนาในสังคมวิถีใหม่”, 128 – 138.

    สิรินุช ขัมภรัตน์, กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา. (2564). การศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา เรื่องเทียนทำมือ. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 7 “วิถีพุทธ วิถีชุมชน รากฐานชีวทัศน์เชิงสังคมล้านนาในสังคมวิถีใหม่”, 139 – 151.         

    วิสาขะ เยือกเย็น และ กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา. (2561). ผลการจัดการเรียนรูสะเต็มศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 เรื่องไฟฟ้าเคมี. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 15. 6-7 ธันวาคม 2561. 847 – 856.

    นุชจิรา แดงวันสี, สนธิ พลชัยยา และ กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา. (2559). ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือกับสื่อประสมที่มีต่อความก้าวหน้าทางการเรียนและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เรื่องตารางธาตุ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 นวัตกรรมการศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน. 11 พฤศจิกายน 2559. 646 - 656.

    จำลอง อบอุ่น, ประนอม แซ่จึง, สนธิ พลชัยยา และ กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา. (2559). การพฒันาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ งานเกษตรแฟร์นนทรีอีสาน ประจำปี 2560. 26 - 27 พฤศจิกายน 2560. 333-342.

    ประกิจ  วรเลิศ, ประนอม แซ่จึง, สนธิ พลชัยยา, กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา. (2559). การศึกษามโนมติวิทยาศาสตร์และความก้าวหน้าทางการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ด้วยการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. ประชุมวิชาการ มอบ.วิจัย ครั้งที่ 10. วันที่ 7 – 8  กรกฎาคม 2559.

    ณัฐริกา ผายเมืองฮุง, ประนอม แซ่จึง, สนธิ พลชัยยา, กานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา. (2559). ความก้าวหน้าทางการเรียนและมโนมติทางวิทยาศาสตร์เรื่องโมล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยวัฏจักรการเรียนรู้แบบสืบเสาะ 5 ขั้นผสมผสานกับเทคนิคกลุ่มแข่งขันในขั้นขยายความรู้. ประชุมวิชาการ มอบ.วิจัย ครั้งที่ 10. วันที่ 7 – 8  กรกฎาคม 2559.

    วรุนันท์ ช้อยกิตติพันธ์ และกานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา.(2558). การพัฒนามโนมติวิทยาศาสตร์ เรื่อง รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยการเรียนรู้แบบสืบเสาะ. การประชุมวิชาการระดับชาติ มอบ วิจัย ครั้งที่ 9, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 380 – 387.

    สุรเดช ใจจุลละ มะลิวรรณ อมตธงไชย และกานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา. (2558).ความก้าวหน้าทางการเรียนและมโนมติคลาดเคลื่อน เรื่อง โมลและสารละลายของนักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้ด้วยเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) ร่วมกับการทดลอง. การประชุมวิชาการระดับชาติ มอบ วิจัย ครั้งที่ 9, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 399 – 410.

    สุกัญญา ทีงาม และกานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา. (2558).การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สารและสมบัติของสาร โดยการเรียนรู้แบบสืบเสาะ สําหรบนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1. โครงการประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 5. มหาวิทยาลัยศิลปากร. 16 – 17 กรกฎาคม 2558. 2462 – 2472.

    ซารีม๊ะ ยามู ประนอม แซ่จึง และกานต์ตะรัตน์ วุฒิเสลา. (2558). การสํารวจความเข้าใจในมโนมติวิทยาศาสตร์ เรื่องความเข้มข้นของสารละลาย ด้วยวัฏจักรการเรียนรูปแบบสืบเสาะ 5 ขั้น ผสมผสานกับเทคนิคกลุ่มแข่งขันในขั้นขยายความรู้. มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 ประจำปี 2558 เรื่อง  การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่นสู่ประชาคมอาเซียน. วันที่ 5 สิงหาคม 2558. ณ สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 43 – 52.

การฝึกอบรม
  • บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย

    STEM Education