Assoc. prof.Chaiwute Vudjung
รศ.ชัยวุฒิ วัดจัง
Assoc. prof.Chaiwute Vudjung
Department : ภาควิชาเคมี
Room : sc368
Phone : 4538
Mobile : 0866144178
E-mail : chaiwute.v@ubu.ac.th, chaiwute2110@gmail.com
ประวัติการศึกษา
ปีที่จบการศึกษา วุฒิการศึกษา สาขาวิชา สถาบัน
2549 วศ.บ. วิศวกรรมพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
2552 วท.ม. ปิโตรเคมีและวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
งานวิจัยที่สนใจ

เทคโนโลยีการยาง

การสังเคราะห์และทดสอบพอลิเมอร์ (Polymer Synthesis and Characterization)

การเตรียมพอลิเมอร์ผสมและการทดสอบสมบัติทางกายภาพและทางเคมี

รางวัลและเกียรติยศ
  • 1. รางวัลผลงานนวัตกรรมดีเด่น ประจำปี 2564 ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 

    2. รางวัลนักวิจัยที่มีผลงานจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาดีเด่น ประจำปี 2561 ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

    3. รางวัลสิ่งประดิษฐ์/นวัตกรรม ในงานประชุมวิชาการ มอบ. วิจัย ครั้งที่ 12

    4. ผลงานวิจัยเพื่อชุมชนท้องถิ่น ในงานประชุมวิชาการ มอบ. วิจัย ครั้งที่ 11

    5. ผลงานวิจัยที่ตอบสนองความต้องการชุมชนดีเด่น ประจำปี 2560 ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

    6. รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น ประจำปี 2559 ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ประสบการณ์การทำงาน
  • - 2565 - ปัจจุบัน รองศาสตราจารย์ ประจำภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

    - 2560 - 2565 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี           

    - 2554 – 2560 อาจารย์ประจำภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

    - 2551- 2554 Supervisor แผนก Developer บริษัท ไลออนไทร์ส (ประเทศไทย) จำกัด

    - 2549 – 2550 นักวิจัย แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท แพนเอเชีย อุตสาหกรรม จำกัด

ผลงานตีพิมพ์
  1. 1. สิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร

    อนุสิทธิบัตรเลขที่ 12998 ชื่อสิ่งประดิษฐ์ “กรรมวิธีการผลิตไส้หมอนขิดจากยางพารา”

    อนุสิทธิบัตรเลขที่ 203000134 ชื่อสิ่งประดิษฐ์ "กรรมวิธีการผลิตบล็อกคอนกรีตลดแรงกระแทก"

    อนุสิทธิบัตรเลขที่ 22023 ชื่อสิ่งประดิษฐ์ "กาวจากน้ำยางธรรมชาติเพื่อใช้กับผลิตภัณฑ์ประเภทเสื่อและผ้าจากเส้นใยธรรมชาติ"

    อนุสิทธิบัตรเลขที่ 1903000769 ชื่อสิ่งประดิษฐ์ "กรรมวิธีการผลิตแผ่นยางฟองน้ำยางพารา"

     

    2. National (Thai) publications (บทความทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารในประเทศ):

              1. ชัยวุฒิ วัดจัง, อุมาพร ไชยสุวรรณ, อุไรวรรณ พันธุ์แก่น, ณัฐติยา ใจภักดี, ทิพย์สุดา บุญประสพ, จิราพร กวานเหียน, เสาวลักษณ์ บุญยอด และอรอุมา สันตวิธี. 2556. ผลของสารเชื่อมขวางต่อสมบัติของไฮโดรเจลเชื่อมโยงแบบกึ่งโครงร่างตาข่ายของยางธรรมชาติและแป้งมันสำปะหลัง. วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ. ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 ฉบับพิเศษ. หน้า 131-138.

              2. จตุพร ประทุมเทศ, วริษฏา ศิลาอ่อน, ชัยวุฒิ วัดจัง, อุษณา พัวเพิ่มพูลศิริ. การศึกษาความหนืดและคุณสมบัติเชิงกลของไฮโดรเจลโครงร่างตาข่ายแบบแทรกสอดจากยางธรรมชาติและแป้ง. 2557. วารสารเภสัชศาสตร์อีสาน. ปีที่ 9 ฉบับพิเศษ. หน้า 6-10.

              3. อัญชลี มุลาสะเก, อภิญญา อุทธา, สายันต์ แสงสุวรรณ, ชัยวุฒิ วัดจัง. ผลของกลูต้าอัลดีไฮด์ต่อสมบัติการดูดซึมน้ำของไฮโดรเจลเชื่อมขวางแบบโครงร่างตาข่ายของน้ำยางพรีวัลคาไนซ์ด้วยกำมะถันและแป้งมันสำปะหลัง. 2557. วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ. ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 ฉบับพิเศษ. หน้า 22-28.

              4. ชัยวุฒิ วัดจัง. การปรับปรุงสมบัติไฮโดรฟิลิกของยางธรรมชาติ: การเตรียม และการวิเคราะห์. 2558. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร. ธัญบุรี. ปีที่ 5 ฉบับที่ 2. หน้าที่ 1-16.

              5. ชัยวุฒิ วัดจัง, ศศิวงศ์ บุญสิงห์, ธนากร คำสอน และสราวุธ ประเสริฐศรี. ยางบวมน้ำจากยางธรรมชาติอิพอกไซด์และพอลิเมอร์ดูดซึมน้ำได้มาก. 2559. วารสารวิทยาศาสตร์ มศว. ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 หน้า 77-95.

              6. ชัยวุฒิ วัดจัง. ผลของอัตราส่วนยางและแป้งต่อสมบัติของไฮโดรเจลชนิดพอลิเมอร์เชื่อมขวางแบบกึ่งโครงร่างตาข่ายและการประยุกต์ใช้ในการปลูกดาวเรือง. 2560. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 หน้า 49-62.

              7. เสาวลักษณ์ บุญยอด และชัยวุฒิ วัดจัง. การเตรียมยางบวมน้ำจากยางธรรมชาติกราฟต์ด้วยโซเดียมอะคริเลต. 2560. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. ปีที่ 25 ฉบับที่ 5, 791-804.

              8. เสาวลักษณ์ บุญยอด, ชัยวุฒิ วัดจัง และมาหามะสูไฮมี มะแซ. การเตรียมพอลิเมอร์เชื่อมโยงกึ่งโครงร่างตาข่ายจากน้ำยางธรรมชาติ. 2560. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร. ธัญบุรี. ปีที่ 7 ฉบับที่ 1, 78-87.

              9. ชัยวุฒิ วัดจัง, ศันศนีย์ ศรีจันทร์, เสาวลักษณ์ บุญยอด, สราวุธ ประเสริฐศรี. ผลิตภัณฑ์หมอนขิดยางพารา บ้านศรีฐาน จังหวัดยโสธร. 2561. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่. ปีที่ 10 ฉบันที่ 1 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2561, 1-18.

              10. ชัยวุฒิ วัดจัง, สราวุธ ประเสริฐศรี, ชัยวัฒน์ บำเพ็ญ, ชลากรณ์ ครองยุทธ, ศตวรรษ ดอกจันทร์, จารุวรรณ ชุปวา. บล็อกยางปูพื้นสำหรับผู้สูงอาย6: ผลของสารหน่วงปฏิกิริยาการคงรูปต่อสมบัติของบล็อกยางปูพื้น. 2563. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร. ธัญบุรี. ปีที่ 10 ฉบับที่ 1, 60-73.

              11. Chaiwute Vudjung, Suwimon Thiakthum. 2021. Paving blocks for the elderly: A study of the preparation of concrete mixed with crumb rubber and bonded rubber. Kasem Bundit Engineering Journal. 11 (3). 90-109.

    3. International publications (บทความทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ):

              1. Warisada Sila-on, Jatuporn Pratoomted, Utsana Puapermpoonsiri, Chaiwute Vudjung and Wiwat Pichayakorn. (2014). Thermal and Mechanical Properties of Natural Rubber/Rice Starch Interpenetrating Network Hydrogel. Advanced Materials Research Vol. 844. 77-80.

              2. Utsana Puapermpoonsiri, Jatuporn Pratoomted, Warisada Sila-on, Chaiwute Vudjung. (2014). Water Absorption and Swelling Property of Interpenetrating Network Hydrogel from Crosslinked Natural Rubber and Modified Rice Starch. Advanced Materials Research Vol. 844. 73-76.

              3. Chaiwute Vudjung, Umapon Chaisuwan, Uraiwan Pangan, Nattiya Chaipugdee, Saowaluk Boonyod, Onuma Santawitee and Sayant Saengsuwan. (2014). Effect of Natural Rubber Content on Biodegradation and Water Absorption of Interpentrating Polymer Network (IPN) Hydrogel from Natural Rubber and Cassava Starch. Energy Procedia. 56. 255-263.

              4. C. Vudjung. (2016). Cure and Mechanical Properties of Natural Rubber Filled Bacterial Cellulose. Key Engineering Materials. 705. 40-44.

              5. S. Prasertsri, P. Nuinu, S. Srichan, S. Radabutra, C. Vudjung, S. Boonyod. (2016). Compatibilization Efficiency of Polybutadiene-Grafted Maleic Anhydride in Ethylene-Propylene Diene Rubber/Epoxidized Natural Rubber Blends. Key Engineering Materials. 705. 45-49.

              6. Saowaluk Boonyod and Chaiwute Vudjung. (2017). Effect of Oleic Acid on Properties of Natural Rubber Filled Bacterial Cellulose. Key Engineering Materials. 744. 295-299.

              7. Chaiwute Vudjung and Sayant Saengsuwan. (2017). Synthesis and properties of biodegradable hydrogels based on cross-linked natural rubber and cassava starch. Journal of Elastomers & Plastics. 49 (7). 574-594.

    8. Chaiwute Vudjung and Sayant Saengsuwan. (2018). Biodegradable IPN Hydrogels Based on Pre-vulcanized Natural Rubber and Cassava Starch as Coating Membrane for Environment-Friendly Slow-Release Urea Fertilizer. Journal of Polymers and the Environment 26. 3967–3980.

  2. 9. Pranee Nuinu, Sansanee Srichan, Anuchit Ngamlerd, Chamaiporn Wichian, Sarawut Prasertsri, Sayant Saengsuwan, Napida Hinchiranan, Chaiwute Vudjung. Preparation of environment-friendly hydrophilic rubber from natural rubber grafted with sodium acrylate by reactive melt mixing. Polym Eng Sci. 2022; 62: 1833–1846.

    10. Chaiwute Vudjung, Pranee Nuinu, Ponsakda Yupas, Rattapong Seelakun, Sayant Saengsuwan. Styrene‑assisted acrylic acid grafting onto polypropylene surfaces: preparation, characterization, and an automatically latex‑coagulating application. Polymer Bulletin. 2023; 80: 5123–5147.

ทักษะอื่นๆ
  • โครงการเพื่อสังคม

    - ปี 2556 อาจารย์ร่วมโครงการ “ค่ายการยาง ม. อุบล” ครั้งที่ 1 ณ. โรงเรียนบ้านคูบ ตำบลคุบ อำเภอน้ำเกลี้ยง จังหวัดศรีสะเกษ สนับสนุนโดยมูลนิธิจุมภฎ-พันธุ์ทิพย์

    - ปี 2557 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ “ยางปูพื้นสนามเด็กเล่นเพื่อน้อง” ณ. โรงเรียนบ้านบก (มั่นสามัคคีพิทยาคาร)  ตำบลโนนผึ้ง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ภายใต้โครงการปัญญาชนคนทำดีปี 2 สนับสนุนโดยมูลนิธิเอสซีจี

    - ปี 2557 อาจารย์ที่ปรึกษา “ค่ายการยาง ม. อุบล” ครั้งที่ 2 ตอน “เยาวขนนักวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์และนักเทคโนโลยียาง” ณ. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี สนับสนุนโดยมูลนิธิจุมภฎ-พันธุ์ทิพย์

    - ปี 2558 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ “การเคลือบสระน้ำเลี้ยงปลาด้วยน้ำยางธรรมชาติ” ณ. โรงเรียนบ้านนาจาน ตำบลนาเยีย อำเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี ภายใต้โครงการกล้าใหม่ ใฝ่รู้ปีที่ 9 สนับสนุนโดยธนาคารไทยพาณิชย์ ได้รางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่ง

    - ปี 2558 อาจารย์ที่ปรึกษา “Rubber Bridge UBU” ณ. โรงเรียนหนามแท่งพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก อำเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี สนับสนุนโดยไทยบริดจสโตน จำกัด

    - ปี 2558 อาจารย์ที่ปรึกษา “ค่ายการยาง ม. อุบล” ครั้งที่ 3 ตอน “เปิดประสบการณ์ชีวิตกับการรู้จักนักวิทย์การยาง” ณ. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี สนับสนุนโดยมูลนิธิจุมภฎ-พันธุ์ทิพย์

    - ปี 2559 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ “หมอนขิดจากน้ำยางพารา ต่อยอดภูมิปัญญาบ้านศรีฐาน” ณ บ้านศรีฐาน อำเภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธร ภายใต้โครงการกล้าใหม่ ใฝ่รู้ปีที่ 10 สนับสนุนโดยธนาคารไทยพาณิชย์ ได้รางวัลรองชนะเลิศอันดับสอง

    - ปี 2559 อาจารย์ผู้ร่วมโครงการ “ค่ายการยาง ม. อุบล” ครั้งที่ 4 ตอน “Rubber and Polymer smart camp” ณ. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี สนับสนุนโดยมูลนิธิจุมภฎ-พันธุ์ทิพย์

    - ปี 2559 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ “โรงอบพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับผลิตไส้หมอนขิดจากน้ำยางพารา” ณ บ้านศรีฐาน อำเภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธร ภายใต้โครงการ “เยาวชน คนทำดี” ปีที่ 5 สนับสนุนโดยมูลนิธิเอสซีจี

    - ปี 2559 Senior coach “Formic acid พลิกวิกฤตชาวสวนยาง” ณ สหกรณ์ชาวสวนยางพาราภูผาหมอก จำกัด ตำบลภูผาหมอก อำเภอกันทรลักษ์  จังหวัดศรีสะเกษ ภายใต้โครงการกล้าใหม่ ใฝ่รู้ปีที่ 10 สนับสนุนโดยธนาคารไทยพาณิชย์ ได้รางวัลรองชนะเลิศอันดับสอง

    - ปี 2560 ที่ปรึกษาชมรม “Rubber tech UBU” คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

    - ปี 2562 อาจารย์ที่ปรึกษาการประกวดโครงการประกวดผลิตภัณฑ์ยางพาราและไม้ยางพาราระดับประเทศ ประเภทผลิตภัณฑ์ยางพาราอัตลักษณ์ ในหัวข้อ "หมอนยางพื้นถิ่น (Local Premium)" ด้วยผลงาน “หมอนสามแบ” ได้รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่สอง ระดับเขตอีสานตอนล่างและ “หมอนฟ้าครามเพื่อสุขภาพ” ได้รางวัลรองชนะเลิศ ระดับประเทศ จากการยางแห่งประเทศไทย

    - ปี 2563 อาจารย์ที่ปรึกษาการประกวดโครงการประกวดผลิตภัณฑ์ยางพาราและไม้ยางพาราระดับประเทศ ประเภทผลิตภัณฑ์ยางพาราอัตลักษณ์ ในหัวข้อ "หมอนยางพื้นถิ่น (Local Premium)" ด้วยผลงาน “หมอนยางนา” ได้รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่สอง และ “หมอนศรีลาว” ได้รางวัลรองชนะเลิศ ระดับเขตอีสานตอนล่าง จากการยางแห่งประเทศไทย