Dr.Anusorn Bunteong
ดร.อนุสรณ์ บรรเทิง
Dr.Anusorn Bunteong
Department : ภาควิชาคณิตศาสตร์ สถิติและคอมพิวเตอร์
Room : 428
Phone : 4603
Mobile : 0810741380
E-mail : anusorn.b@ubu.ac.th
ประวัติการศึกษา
ระดับปริญญา สาขาวิชา ปีที่สำเร็จ สถาบันที่สำเร็จการศึกษา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต เทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ. 2557 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
เจ้าคุณทหารลาดกระบัง
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต เทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ. 2548 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
วิทยาศาสตรบัณฑิต วิทยาการคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2544 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
งานวิจัยที่สนใจ

Game Development, 3D Computer Graphics, Virtual Reality, Augmented Reality, Image Processing

ประสบการณ์การทำงาน
  • พ.ศ. ชื่อหน่วยงาน ตำแหน่งงาน
    2558-ปัจจุบัน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อาจารย์
    2546-2547 สำนักคอมพิวเตอร์และเครือข่าย มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี นักวิชาการคอมพิวเตอร์
ผลงานตีพิมพ์
  1. บทความวิจัยหรือบทความทางวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฎในฐานข้อมูลกลุ่มที่ 2

    • อมรเทพ ตาลหอม, อนุสรณ์ บรรเทิง, สมปอง เวฬุวนาธร และปิยะนันท์ พนากานต์. การพัฒนาเกมสามมิติจำลองการขับรถจักรยานยนต์ด้วยเทคนิคแอสเซสสปอร์ตไบต์โปรคิต ณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - เมษายน 2563. หน้า 93-101. 2563.
    • วงกต ศรีอุไร และอนุสรณ์ บรรเทิง. รูปแบบการพัฒนาระบบสนับสนุนการปฏิสัมพันธ์ในชั้นเรียนสำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 21(1), หน้า 128-137, 2562.
  2. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ

    • อนุสรณ์ บรรเทิง, สิรภัทร พิบูลย์ และอายูมิ นางามิเนะ.  การจำลองการสนทนาภาษาอังกฤษโดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสมือน.  ใน การประชุมวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ 16 NCCIT 2020. Virtual Conference. 2563.
    • ทศพร งามเถื่อน และอนุสรณ์ บรรเทิง.  การพัฒนาแอปพลิเคชันความจริงเสริมแบบพลวัต : กรณีศึกษาสื่อการเรียนรู้เรื่อง โทโพโลยีระบบเครือข่าย. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ มอบ.วิจัย ครั้งที่ 13.  (หน้า 211-220) อุบลราชธานี: อาคารเทพรัตนสิริปภา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.  2562.
    • นิติธร ศิริขันธ์, อนุสรณ์ บรรเทิง และปิยะนันท์ พนากานต์.  การพัฒนาเกม “ผจญภัยในดาวมฤตยู” ด้วยเทคนิคพารัลแลกซ์และเทคนิคพาร์ทิเคิล. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ มอบ.วิจัย ครั้งที่ 12.  (หน้า 248-259) อุบลราชธานี: อาคารเทพรัตนสิริปภา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.  2561.
    • ณัฏฐ์ ดิษเจริญ, อนุสรณ์ บรรเทิง และนิรันดร์ ศรีศุภร.  การพัฒนาห้องเรียนเสมือนเพื่อเรียนรู้ระบบสุริยะด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน. ใน การประชุมวิชาการทางการศึกษา The 6th PSU Education Conference. (หน้า 16-24) สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 2560.
    • อนุสรณ์ บรรเทิง, ทศพร งามเถื่อน และนทีธร ชาติบัวหลวง.  การพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพเกม 3 มิติเพื่อจำลองสภาพแวดล้อมตึกวิจัย คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.  ใน การประชุมวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ 12 NCCIT 2016. (หน้า 697-702) ขอนแก่น: โรงแรมอวานี ขอนแก่น แอนด์ คอนเวนชัน เซ็นเตอร์. 2559.
  3. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ หรือตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฎในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1

    • ณัฏฐ์ ดิษเจริญ, เรืองยศ สร้อยแก้ว, อัจฉราพร ขันธุแสง และอนุสรณ์ บรรเทิง. การพัฒนาห้องปฏิบัติการเสมือนเพื่อเรียนรู้การประกอบคอมพิวเตอร์ด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือนโดยใช้อุปกรณ์โอคูลัส. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2562. หน้า 201-215. 2562.
    • Anusorn Bunteong and Nopporn Chotikakamthorn. Light source estimation using feature points from specular highlights and cast shadows. International Journal of Physical Sciences. Vol. 11(13). pp. 168-177. 2016.
  4. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

    • Anusorn Bunteong and Nopporn Chotikakamthorn. Weighted Hough Transform for Directional Light Sources Estimation from Multi-View Images. 16th International Conference on Mechatronics Technology (ICMT 2012). Tianjin:China. pp. 13-14. 2012.

  5. ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดำเนินการ

    • รูปแบบการพัฒนาระบบสนับสนุนการปฏิสัมพันธ์ในชั้นเรียนสำหรับการเรียนรู้เชิงรุกในศตวรรษที่ 21. ผู้ร่วมโครงการวิจัย. แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2560 (1 ตุลาคม 2559- 30 กันยายน 2560)
ทักษะอื่นๆ
  • Machine Learning, Database, Web & Mobile Application Development

การฝึกอบรม
  • หลักสูตร TQA Criteria
    22-24 ก.ค. 2563 โรงแรมฮอลิเดย์ อินน์ สีลม กรุงเทพมหานคร
    จัดโดย สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ

  • หลักสูตร TQA Application Report Writing
    30-31 ก.ค. 2563 โรงแรมฮอลิเดย์ อินน์ สีลม กรุงเทพมหานคร
    จัดโดย สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ